การทำเล่มหนังสือเล่ม

Book Binding

1. รู้หลักการพับหนังสือ
2. เข้าใจการทำรูปเล่มหนังสือแบบต่างๆ
3. เข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุในการเข้าเล่มทำปกให้เหมาะสมและสวยงาม
4. เห็นความสำคัญของการทำเล่มหนังสือและการประยุกต์การเพิ่มมูลค่าให้แก่หนังสือ
-
ศึกษาวิธีการพับหนังสือ การจัดทำรูปเล่มหนังสือแบบต่างๆ การเลือกใช้วัสดุสำหรับการเข้าเล่มทำปก ฝึกทักษะการทำรูปเล่มด้วยเทคนิคต่างๆ
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกกิจกรรมในระหว่างการสอนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนให้กับนักศึกษา สอดแทรกความรู้ทางด้านจรรยาบรรณด้านวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกาในรายวิชา สอนให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบในการทำงานต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
                1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการพับหนังสือ  การทำเล่มหนังสือเล่มด้วยเทคนิครูปแบบต่างๆ
            2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง
            3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่เกี่ยวข้อง
บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียนรูปแบบออนไลน์โดยเน้นหลักการทฤษฏีและการประยุกต์ใน

การปฏิบัติงาน

นักศึกษาฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง การทำงานเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน ประเมินผลจากการมอบหมายงาน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติโดยดูการสาธิตขั้นตอนจากผู้สอนในรูปแบบออนไลน์

และนักศึกษานำไปประยุกต์ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง

นักศึกษาสามารถรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลที่เกิดขึ้นระหว่างการดูสาธิตออนไลน์จาก

ผู้สอน
1. ผลงานสำเร็จและการรายงานในรูปแบบออนไลน์
            1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
            2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
            4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการทำงานเดี่ยว ตลอดจนการยอมรับความคิดเห็นที่

แตกต่างของแต่ละคน

ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
            1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน 
            2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยายและอภิปรายในรูปแบบสื่อออนไลน์
            2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
            1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
            2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ . มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการพับหนังสือ การทำเล่มหนังสือเล่มด้วยเทคนิครูปแบบต่างๆ 2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 44000006 การทำเล่มหนังสือเล่ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน ประเมินผลจากการมอบหมายงาน 9, 18 ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา ผลงานสำเร็จและการรายงานในรูปแบบออนไลน์ ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 5%
1.  ธวัชชัย เทียนประทีป. ผลิตภัณฑ์เครื่องหนังกระเป๋า (ฉบับสุดคุ้ม). พิมพ์ครั้งที่ 1 2561. พิมพ์ที่บริษัท 
        รุ่งแสงการพิมพ์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
2.  นวลแข  ปาลิวนิช. ความรู้เรื่องผ้าและเส้นใย ฉบับปรุงปรุงใหม่..จัดพิมพ์และจัด    จำหน่าย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.
3. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำรูปเล่มหนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541.  สำนักพิมพ์         มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
4.  บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์ และสุณี  ภู่สีม่วง. วัสดุทางการพิมพ์ในงานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556.          สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
5. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์. งานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
        , นนทบุรี.
6.  มานิตา  เจริญปรุ. หนังสือลงมือทำสมุดโครงการ 2.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556.  สำนักพิมพ์ เต่าตัวโต, 
        ปทุมธานี.
7.  มานิตา  เจริญปรุ. หนังสือลงมือทำสมุดโครงการ 1.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556.  สำนักพิมพ์ เต่าตัวโต, 
        ปทุมธานี.
8.  มานิตา  เจริญปรุ. หนังสือลงมือทำสมุดโครงการ 3.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556.  สำนักพิมพ์ เต่าตัวโต,
        ปทุมธานี.
9.  รุ่งอรุณ  วัฒนวงศ์  สุภาวดี  เทวาสะโณ  วรรณา  สนั่นพานิชกุล และศรัยคุปต์  สาตพร. ความรู้เฉพาะ
        วิชาชีพหลังพิมพ์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.   สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
10.  วันชัย  ใจสุภาพ. การทำเล่มหนังสือปกแข็ง. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540. สำนักพิมพ์           มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
11.  อัจฉราพร  ไศละสูต. ความรู้เรื่องผ้า. พิมพ์ครั้งที่  10 ฉบับปรุงปรุงใหม่ พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์
          สร้างสรรค์-วิชาการ บริษัทสร้างสรรค์-วิชาการ จำกัด, กรุงเทพฯ.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ