ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการค้า

Commercial Floricultural and Ornamental Plant Production

1.1 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนเข้าใจ - ความหมายและความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการค้า - การตลาดไม้ดอก - การปลูกไม้ดอกบางชนิดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ - ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของดอกไม้ - การปฏิบัติรักษาไม้ดอกไม้ประดับทั้งก่อนและหลังเก็บเกี่ยว 1.2 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนทราบ - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ชนิดพันธุ์ การปลูก การขยายพันธุ์รักษา และการดูแล ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการค้า - เทคโนโลยีการผลิต การจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวจัดตลอดจนการ จําหน่าย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางเทคโนโลยีการผลิต: ไม้ดอกไม้ประดับ มาใช้ในการ วางแผนการผลิต การจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว ตลอดจนการจัดจําหน่าย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสือสาร และการใช้เทคโนโลยี 6.ทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 5.4 6.1
1 BSCAG153 ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการค้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/การแต่งกาย การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-16 10
2 ความรู้ การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค 8,18 60
3 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การนำเสนองาน/การรายงาน 4-15 30
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจากการสังเกตการณ์ขณะสอน lการสอบถามตัวแทนนักศึกษา ดูผลการเรียนของนักศึกษา
1) หลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์ วิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา และผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา และให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาตามแบบ มคอ.  2) มีการประชุมอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางการแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทําหน้าที่ทบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา ภายในรอบเวลาของหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน ทั้งทางด้านเนี้อหาที่สอน กลยุทธ์ การสอน แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อหัวหน้าภาคและคณะกรรมการพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป