โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์

Computer Application for Livestock

1.1 เข้าใจระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1.2 เข้าใจการใช้โปรแกรมจัดทำเอกสาร การนำเสนอข้อมูล และการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล 1.3 เข้าใจการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์ 1.4 มีทักษะในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์ 1.5 เห็นประโยชน์ของการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตปศุสัตว์  แก้ไข
2.1 มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการบูรณาการเทคโนโลยีทางสัตวศาสตร์ เพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการด้านการปศุสัตว์ และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ในฐานะผู้ประกอบการ นักวิชาการ หรือผู้จัดการฟาร์ม และสามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ 2.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคมและเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย 2.4 มีทัศนคติและเจตคติที่ดีที่ดีต่อวิชาชีพทางการเกษตร
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป จัดทำเอกสาร ฐานข้อมูล นำเสนอข้อมูล และโปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์
3.1 วันพุธ และวันศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาวิชาสัตวศาสตร์ โทร 089-7126620 3.2 e-mail: ttin15@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1  มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ  แก้ไข
1.2 วิธีการสอน 
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  5. การสอนฝึกปฏิบัติการ   6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)  แก้ไข
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2 .โครงการกลุ่ม 3.การสังเกต 4.การนำเสนองาน 5.ข้อสอบอัตนัย 6.การประเมินตนเอง 7.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม  แก้ไข
1. กระบวนการสืบค้น 2. การเรียนแบบแก้ปัญหา 3. การสอนแบบการตั้งคำถาม 4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล 5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี 6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย 7. การสอนฝึกปฏิบัติการ   8. การสอนแบบกรณีศึกษา 9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  10. การสอนในห้องปฏิบัติการ    11. การสอนแบบบรรยาย   12. การสอนแบบสัมมนา   13. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การนำเสนองาน 3.ข้อสอบอัตนัย 4. ข้อสอบปรนัย 5.การประเมินตนเอง 6.การเขียนบันทึก
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม  แก้ไข
1. กระบวนการสืบค้น 2. การเรียนแบบแก้ปัญหา 3. การสอนแบบการตั้งคำถาม 4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล 6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย 7. การสอนฝึกปฏิบัติการ   8. การสอนแบบกรณีศึกษา 9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  10. การสอนในห้องปฏิบัติการ    11. การสอนแบบปฏิบัติ  12. การสอนแบบ  active learning
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การนำเสนองาน 3.ข้อสอบอัตนัย 4. ข้อสอบปรนัย 5.การเขียนบันทึก 6.โครงการกลุ่ม
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย 3. การสอนฝึกปฏิบัติการ   4. การสอนแบบกรณีศึกษา 5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  6. การสอนในห้องปฏิบัติการ    7. การสอนแบบปฏิบัติ  8. การสอนแบบ  active learning
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.โครงการกลุ่ม 3.นิทรรศการ 4.การสังเกต 5.การนำเสนองาน 6.การประเมินตนเอง 7.การประเมินโดยเพื่อน  แก้ไข
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
1. ใช้  Power point   2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. การนำเสนองานด้วยวาจา
1.การนำเสนองาน 2.ข้อสอบอัตนัย 3.โครงการกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ทักษะด้่านปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG250 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.1, 1.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (ปฏิบัติ) 1-15 10%
3 2.1, 3.1, 5.1 การสอบกลางภาค (ครั้งที่ 1 และ 2) 9, 17 30%
4 2.2, 5.1, 5.2, การนำเสนองาน/การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน 15 การนำเสนองาน/การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน
5 2.1, 3.1, 5.1 การสอบปลายภาค 17 20%
วีระ  อินทร์นารี. 2549.  เอกสารประกอบการสอนวิชา 03-222-408  คอมพิวเตอร์ในการผลิตสัตว์. บทปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในการผลิตสัตว์.  คณะวิชาสัตวศาสตร์.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง.  ลำปาง.  349 น.
สมเกียรติ   ฟุ้งเกียรติ. 2548.  เอกสารฝึกอบรมและสัมมนา เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นของโปรแกรมแผ่นตารางทำการ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ. สมเกียรติ   ฟุ้งเกียรติ. 2548.  เอกสารฝึกอบรมและสัมมนา เรื่องหันมาใช้ Excel จัดการฐานข้อมูลแทน Access. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ. ณรงค์  หุตานุวัตร  นันทิยา  หุตานุวัตร และประสาธน์  เกียรติไพบูลย์กิจ.  2548.  ฐานข้อมูล Excel ง่าย แต่เก่ง. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เนรมิต    สุขมณี และอุทัย    คันโธ.  2545.  คู่มือโปรแกรมคาฟฟ์ เวอร์ชั่น 3.0  สำหรับการคำนวณสูตรอาหารสุกรและสัตว์ปีก. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ. ภาควิชาสัตวบาล.  มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์.  กำแพงแสน.  นครปฐม.  25 น. ไพบูลย์   ใจเด็ด. 2548. การใช้งานโปรแกรมจัดการฟาร์มโคนม Dairy king Version 1.0. ภาคเทคโนโลยีการผลิตสัตว์.  คณะเทคโนโลยีการเกษตร.  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.  กรุงเทพฯ. 17 น. มนต์ชัย   ดวงจินดา และวิโรจน์   ภัทรจินดา. 2543. คู่มือโปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคำนวณสูตรอาหารราคาต่ำสุด. ภาควิชาสัตวศาสตร์. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 27 น. อุทัย    คันโธ.  2529.  อาหารและการผลิตอาหารเลี้ยงสุกรและสัตว์ปีก. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ. ภาควิชาสัตวบาล. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กำแพงแสน. นครปฐม. 297 น. ตัวอย่างแบบบันทึกข้อมูลงานฟาร์มที่นักศึกษาได้รับจากการฝึกงานภายนอก และแบบบันทึกข้อมูลงานฟาร์มของมหาวิทยาลัย. 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยใช้แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง  แก้ไข
ประเมินการจัดการเรียนการสอนจากการทดสอบย่อยและตอบคำถามของนักศึกษา ระหว่างการสอนแต่ละหน่วยการเรียน
3.1 ทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสอทธิภาพของรายวิชา 3.2 จัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคการศึกษา 3.3 ให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูง เพื่อ  แก้ไข
4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ 4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม 4.3 การแจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ 4.4 การออกข้อสอบร่วม 4.5 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนรายงานและการนำเสนอรายงาน
5.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ 5.2 ประชุมร่วมผู้สอน 5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม 5.4 ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการที่เชิญมาเป็นกรรมการคณะและวิทยากรบรรยายพิเศษ  แก้ไข