โภชนศาสตร์และการให้อาหารสัตว์กระเพาะรวม

Ruminant Nutrition and Feeding

1.1  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในสรีรวิทยาการย่อยอาหารและความผิดปกติจากขบวนการเมตะบอลิซึมของ อาหารในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
     1.2  เพื่อให้เข้าใจถึงวิธีการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องที่เหมาะสม
     1.3  เพื่อให้มีความรู้ในการพิจารณาการประยุกต์ใช้พืชท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรมเป็นอาหารสัตว์กระเพาะรวม
เพื่อจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้านการเลี้ยงสัตว์  มีการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน  และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ศึกษาระบบทางเดินอาหารของสัตว์กระเพาะรวม จุลชีพในกระเพาะรูเมน การย่อยและการดูดซึมโภชนะ และกระบวนการเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และสารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน  การประยุกต์ใช้พืชท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรมเป็นอาหารสัตว์กระเพาะรวม และการให้อาหารสัตว์กระเพาะรวม
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1  มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.การนำเสนองาน
2.การตรงต่อเวลา
3. การทำงานกลุ่ม
 
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
5. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
6. การสอนแบบกรณีศึกษา
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบสัมมนา  
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย และประเมินผล
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม
3. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
5. การสอนแบบกรณีศึกษา
1.การนำเสนองาน
2.งานกลุ่มที่มอบหมาย
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
3. การสอนแบบกรณีศึกษา
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
1.โครงการกลุ่ม
2.การสังเกต
3.การนำเสนองาน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวาจา
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3.โครงการกลุ่ม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.2 มีทักษะทเทคโนโลยีางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้สารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG243 โภชนศาสตร์และการให้อาหารสัตว์กระเพาะรวม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 5%
2 1.1, 1.2, 4.2, 5.2 นำเสนองานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 3.1 การสอบกลางภาค 9 40%
4 5.2 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ 16 15%
5 2.1, 3.1, 3.3, 5.1 การสอบปลายภาค 17 40%
1. เทอดชัย เวียรศิลป์. 2540. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ . เทอดชัย เวียรศิลป์. 2540. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวศาสตร์
2. บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
3. พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. 2535. หลักการอาหารสัตว์ เล่ม 1, โภชนะ. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
1.A.O.A.C. 1998. Official Method of Analysis. Assoc of Official Analysis Chemist, Inc,Virgina.
2.Goering., H.K. and P.T. Van Soest. 1970. Forage fibre analysis (apparatus, reagents, procedure and some application), USDA/ARS Agricultural Handbook No. 379 Washington, DC.
3. McDonald, P., R.A. Edwards, J.F.D. Greenhalgh and C.A. Morgan. 1995. Animal Nutrition. 5 th Ed. Longman Scientific and Technical, New York.
4. Orskov, E.R. 1992. Protein Nutrition in Ruminants. Academic Press Limited,English, London.
5. Orskov, E.R. and M. Ryle. 1990. Energy Nutrition in Ruminants. Elsevier Science Publishers Ltd, English, London.
- ข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจคันคว้าทางอินเทอร์เน็ต
1.A.O.A.C. 1998. Official Method of Analysis. Assoc of Official Analysis Chemist, Inc,Virgina.
2.Goering., H.K. and P.T. Van Soest. 1970. Forage fibre analysis (apparatus, reagents, procedure and some application), USDA/ARS Agricultural Handbook No. 379 Washington, DC.
3. McDonald, P., R.A. Edwards, J.F.D. Greenhalgh and C.A. Morgan. 1995. Animal Nutrition. 5 th Ed. Longman Scientific and Technical, New York.
4. Orskov, E.R. 1992. Protein Nutrition in Ruminants. Academic Press Limited,English, London.
5. Orskov, E.R. and M. Ryle. 1990. Energy Nutrition in Ruminants. Elsevier Science Publishers Ltd, English, London.
- ข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจคันคว้าทางอินเทอร์เน็ต
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-ผลการทดสอบ
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในชั้นเรียน
-ทวนจากคะแนนสอบ และรายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น