การปรับปรุงพันธุ์พืช

Plant Breeding

กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 2.2,3.1,4.3 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5
2 1.3,4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค ทุกสัปดาห์ 4,6,10 8 35
3 5.1,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20
4 5.1,5.3 การสอบปลายภาค 16 30
กาญจนา  รุจิพจน์.  2553. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา  21011312 พันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2528.  ปรับปรุงพันธุ์พืช.  โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช, กรุงเทพฯ.  155 น.
          กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2544.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 272 น.
          กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2546.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.
          นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.
          นิตย์ศรี  แสงเดือน. 2536. พันธุศาสตร์พืช. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 315 น.
          ประดิษฐ์  พงษ์ทองคำ. 2543. พันธุศาสตร์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 398น.
          ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2540. พันธุศาสตร์ประชากรและปริมาณ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 215 น.
          ประภา  ศรีพิจิตต์. 2534. เซลล์พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 254 น. 
          พีระศักดิ์   ศรีนิเวศน์. 2525. พันธุศาสตร์ปริมาณที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 179 น. 
          ไพศาล   เหล่าสุวรรณ.  2527.  หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช.  คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่.  320 น.
          ไพศาล   เหล่าสุวรรณ. 2535. พันธุศาสตร์. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ. 342 น.
          วิทยา   บัวเจริญ. 2527. หลักการผสมและปรับปรุงพันธุ์พืช. กรุงสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 169น.
          สมชัย  จันทร์สว่างและพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2546. พันธุศาสตร์ประชากร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 210 น.
          สุทัศน์  ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259 น.
กองโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2548. นวัตกรรมข้าวไทยธาตุเหล็กสูง, น. 1-25. ใน เอกสารประกอบการสัมมนา  “นวัตกรรมข้าวไทยธาตุเหล็กสูง” วันที่ 13 กันยายน 2548, ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น, กรุงเทพฯ.
          เจริญศักดิ์  โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2527. การปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูง. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ฯ, กรุงเทพฯ. 161 น.
          เจริญศักดิ์   โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และ พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์. 2529. การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจของประเทศไทย. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ. 381 น.
          ชยพร   แอคะรัจน์. 2544. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช(ภาคทฤษฎีและปฏิบัติการ). สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตกาฬสินธุ์. 197 น.
          ชำนาญ  ฉัตรแก้ว. 2534. การปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูง I. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 207 น.
          ทวีศักดิ์   ภู่หลำ.  2540.  ข้าวโพดหวาน : การปรับปรุงพันธุ์และการปลูกเพื่อการค้า.  โรงพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง   เฮ้าส์,  กรุงเทพมหานคร.  188 น.
          ทิพย์วดี   อรรถธรรม. 2543. ฝ้ายจำลองพันธุ์ต้านทานต่อหนอนเจาะสมอฝ้าย, 121-127 น. ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13 เทคโนโลยีใหม่พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14 กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
          ประภา  ศรีพิจิตต์  และ เสาวณีย์  ตังสกุล . 2543. การสกัดและเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ของข้าวหอม (Oryza  sativa L.) พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105. วารสารวิชาการเกษตร. 18(2): 188-197.
          พิสวรรณ   เจียมสมบัติ. 2543. พริกจำลองพันธุ์ที่ต้านทานไวรัส, น.  112-115. ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13 เทคโนโลยีใหม่พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14 กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
          ราเชนทร์   ถิรพร. 2543. ข้าวโพด  การผลิต การใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ปัญหา และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร. บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 274 น.
รังสฤษฏ์   กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช: หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219 น.
          วาสนา  วงษ์ใหญ่  อุดม  พูลเกษ  รังสฤษฎ์  กาวีต๊ะ และ วิทยา  แสงแก้วสุข. 2541. พฤกษศาสตร์พืชเศรษฐกิจ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 220 น.
          วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชไร่-นา  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 276 น.
          สมบุญ   เตชะภิญญาวัฒน์. 2537. พฤกษศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3  สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
           277 น.
          สมบุญ   เตชะภิญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 3 สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 213 น.
          สมวงษ์   ตระกูลรุ่ง. 2543. การใช้ดีเอ็นเอเทคโนโลยีในประเทศไทย, น. 90-104. ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13 เทคโนโลยีใหม่พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
          สุรินทร์   ปิยะโชคณากุล. 2534. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. ภาควิชาพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 258 น.
          สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ. 2542. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542. สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           30 น.
          อรดี   สหวัชรินทร์. 2539. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 48 น. 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 -  สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง
พร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป
          - การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข