เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

Post-harvest Technology

1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว สามารถอธิบายถึงปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว ไปจนถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น ทั้งทางด้านสรีรวิทยา เคมี และกายภาพ
1.2 เข้าใจถึงความสำคัญของการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว ตลอดจนถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเสื่อมเสียในพืชผักและผลไม้ชนิดนั้นๆ
1.3 รู้จักใช้เทคโนโลยีต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวกับผลิตผล เพื่อลดการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว เช่น การเก็บรักษาด้วยความเย็น การควบคุมบรรยากาศแบบ Control Atmosphere และ Modified Atmosphere Packaging การขนส่ง และการวางจำหน่าย (shelf life)
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อปรับปรุงรายละเอียดของ วิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ทางกายภาพและเคมี ระหว่างการเจริญเติบโตและภายหลังการเก็บเกี่ยว การเสื่อมสภาพของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาด้วยระบบการทำความเย็น การควบคุมบรรยากาศแบบต่างๆ การตลาด การขนส่ง และมีปฏิบัติการที่สอดคล้องกับเนื้อหาข้างต้น
อ. ปรัศนีย์  กองวงค์ วันพุธ 15.00 – 17.00 น.
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
 ˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
˜1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.3 มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น 
1.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.4 พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.1 ใช้การสอนบรรยายแบบ Active Learning โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือภายในกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น
2.2 การสอนแบบ Hybrid learning การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.3 การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
2.4 จัดให้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
2.1 การทดสอบย่อย
2.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜3.2สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜3.4มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.1 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย
3.2 การอภิปรายกลุ่มจากผลการปฏิบัติ
3.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.1 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
˜4.2สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
˜4.4สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 การกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2 การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
4.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.2 การตอบข้อซักถามของอาจารย์ และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5.1สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜5.2สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜5.3สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
  5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
˜5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
5.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2 เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
5.1 จากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี
5.2 จากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
6.1มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2. อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1. ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
2. ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 4 5 6 ึ7 1
1 BSCFT124 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.5, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8, 10-16 5%
2 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 2.3, 3.4 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 3,5,11,13 40%
4 2.1, 2.3, 3.4 การสอบกลางภาค 9 15%
5 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การนำเสนองาน/การรายงาน 16 20%
6 2.1, 2.3, 3.4 การสอบปลายภาค 17 15 %
จริงแท้ ศิริพานิช .2549. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ พิมพ์ครั้งที่ .6 .สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 396 หน้า
จริงแท้ ศิริพานิช .2549. ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการวายของพืช พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม
และฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม. 453 หน้า
ดนัย บุณยเกีรยติ. 2540. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของพืชสวนคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เชียงใหม่. 222 หน้า
นิธิยา รัตนาปนนท์ และ ดนัย บุณยเกียรติ. 2548. การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
พิมพ์ครั้งที่ 5 สำนักพิมพ์ โอพริ้นติ้ง เฮ้าส์ เอส, กรุงเทพฯ. 236 หน้า
สายชล เกตุษา. 2531. พิมพ์ที่บริษัทสารมวลชน จำกัด. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. กรุงเทพฯ
291 หน้า
Kader, A. A. 2002. Postharvest Technology of Horticultural Crops. Third Edition. University
of California, Agriculture and Natural Resources. Publication 3311. 535 pp.
Kays, S. J. 1991. Postharvest Physiology of Perishable Plant Products. AVI Publishing
company, Inc., New York. 532 pp.
Thompson, J. F., F. G. Mitchell, T. R. Rumsey, R. F. Kasmire, and C. H. Crisosto. 2002.
Commercial Cooling of Fruits, Vegetables, and Flowers. Revised Edition. University of California, Agriculture and Natural Resources. Publication 21567. 59 pp.
-
http://www.sciencedirect.com
http://www.postharvest.ucdavis.edu
http://www.fao.org
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทาโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 การทำแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนที่ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น
1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง