ชีววิทยาประมง

Fisheries Biology

                เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้พื้นฐานทางชีววิทยาของสัตว์น้ำในแต่ละประเภท รูปแบบการเจริญเติบโต การทดแทนที่ การตาย และการย้ายถิ่นของสัตว์น้ำ รวมถึงลักษณะของการประมงที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสัตว์น้ำ
 
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้เพื่อการแก้ไขสถาการณ์ทางการประมงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชีววิทยาประชากรสัตว์น้ำ การแพร่กระจายของประชากรสัตว์น้ำในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการทดแทนที่ การเจริญเติบโต การตาย และการย้ายถิ่น การทำประมงและอิทธิพลของการประมงที่มีต่อประชากรสัตว์น้ำ การประยุกต์เพื่อเรียนรู้ชีววิทยาประมงและการจัดการ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพทางประมง
                  1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
            ข้อ  1.1.1 และ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก
            ข้อ  1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
1.2.1   กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
                        1.2.2   นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกงานของผู้อื่น
                        1.2.3  หากมีการนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อทำรายงาน ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน  และเสนอข้อมูลตรงตามข้อเท็จจริง
1.3.1  นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
                        1.3.2  ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด เช่น การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
                        1.3.3  ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
            1.3.4  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1.1  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
            2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา                           
             2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
            ข้อ 2.1.1 และ2.1.3เป็นความรับผิดชอบหลัก
            ข้อ 2.1.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
2.2.1  บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการทางทฤษฏี
                        2.2.2  มอบหมายให้ค้นคว้างานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเรียน พร้อมทั้งเขียนรายงานส่ง
2.3.1  สอบกลางภาคและปลายภาค
                        2.3.2  จัดทำรายงานเรื่องที่มอบหมายให้ศึกษา
                        2.3.4  การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหาในชั้นเรียน
.1   ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
                        3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ                   
            ข้อ  3.1.1  เป็นความรับผิดชอบหลัก
            ข้อ  3.1.2  เป็นความรับผิดชอบรอง
3.2.1  กระตุ้นให้นิสิตคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นักศึกษามีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
                        3.2.2  มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์
3.3.1  โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                        3.3.2  ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                        4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                        4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                                       
                         4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
            ข้อ  4.1.2 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
            ข้อ  4.1.1 และ4.1.3  เป็นความรับผิดชอบรอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย
ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                        5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
                        5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ  5.1.1 และ 5.1.3  เป็นความรับผิดชอบรอง
5.2.1  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน
                        5.2.2  ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
                        5.2.3   มีการนำข้อมูลทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการเรียน
5.3.1  ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษหรือไม่
                        5.3.2  ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
                        5.3.3  ประเมินจากข้อมูลที่นำเสนอเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์
6.1  ทักษะพิสัยที่ต้องพัฒนา
                        6.1.1  มีทักษะการใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น สังเคราะห์ข้อมูล และนำเสนองานได้
6.2.1  ฝึกทักษะการสืบค้น สังเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลงาน
6.3.1  ทักษะการสืบค้น และการสังเคราะเพื่อการสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจ         
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย 1. คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1,2 3,4 1,2,3 1,2 1,2,3 4 1,2,3 1 2
1 23012406 ชีววิทยาประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.3,2.1.2 การทดสอบย่อย (Quiz) อย่างน้อย 5 ครั้ง สัปดาห์ที่ 1-16 ร้อยละ 15
2 2.1.1,2.1.3,2.1.2 สอบประเมินผลกลางภาคเรียน และ ปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 7 และ 17 ร้อยละ 45 แบ่งเป็น - กลางภาคร้อยละ 25 - ปลายภาคร้อยละ 20
3 3.1.1, 3.12 งานมอบหมาย 1. ค้นคว้าขอมูลเกี่ยวกับการประมงในประเทศไทย 2. ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากการทำประมงที่ส่งผลต่อโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงของประชากรสัตว์น้ำ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 20
4 4.1.2,4.14, 4.1.1, 4.1.3, 5.1.1 และ 5.1.3 รายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
5 1.1.1 และ 1.1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
6 1.1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยล 5
7 4.1.2,4.14, 4.1.1 และ 4.13 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
ธนิษฐา ทรรพนันทน์. 2543. ชีววิทยาประมง (Fishery Biology). พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์รั้วเขียว. กรุงเทพมหานคร. 146 หน้า
 
ทิวา รัตนอนันต์. 2522. การศึกษาชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย (Loligo duvauceli d’Orbugny) ในอ่าวไทย. รายงานประจำปี 2522. งานสัตว์น้ำอื่นๆ. กองประมงทะเล, กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
ธีรพันธ์ ภูคาสวรรค์. 2523. การพัฒนาและการบริหารทรัพยากรประมงน้ำจืด. กองประมงน้ำจืด กรมประมง, กรุงเทพมหานคร.
มาโนช รุ่งราตรี. 2532. ฤดูวางไข่และชีววิทยาบางประการของหมึกกล้วย Loligo chinensis และ     Loligo duvauceli บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก. เอกสารวิชาการฉบับที่ 20. ศูนย์พัฒนา ประมงทะเลตะวันออก, กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
มะลิ บุญรัตนผลิน. 2545. การจัดการประมงทะเลไทยแนวใหม่. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1/2545. สำนักวิชาการ, กรมประมง, กรุงเทพมหานคร.
จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาเพื่อประเมินประสิทธิภาพในรายวิชานี้ดังนี้
            - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            - แบบประเมินผู้สอนและรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
             - ผลการสอบ
- หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหารือกับอาจารย์ที่สอนวิชาอื่น ๆ ในสาขาวิชา และสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา
- มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยให้อาจารย์ที่ไม่ได้ร่วมสอนช่วยประเมินหัวข้อ เนื้อหา ข้อสอบผลการเรียน และการตัดเกรด
- จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงวิธีการสอนทุกปี
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
-สอดแทรกความรู้ประยุกต์ที่ทันสมัยทุกปี โดยเชิญอาจารย์พิเศษหรือผู้ทรงคุณวุฒิในภาคเอกชนมาให้ความรู้