ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Research Methodology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีหัวข้อโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศทุกคน
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในการเขียนรายงานโครงร่างของโครงงาน
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนอโครงร่างของโครงงานได้
1.5 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของโครงงานได้
1.6 เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ 3 บทได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถพื้นฐาน ในการเขียนรายงานและการนำเสนอโครงร่าง
ของโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของโครงการ และ เขียนรายงานวิทยานิพนธ์ อย่างเป็นทางการได้   
ศึกษาและฝึกทักษะการพูดและการเขียนเชิงเทคนิค การสื่อสารทางวิชาชีพโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ การสืบค้นงานวิจัย การนำเสนอโครงการ รายงาน การนำเสนอผลงาน การเขียนรายงานอย่างเป็นทางการ และการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
Study and practice of technical speech and writing, and professional communication by integrating information technology with other sciences, academic search, project presentation, reporting, formal academic writing and use of academic English
    3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3  โทร  1151
    3.2  e-mail: wiraiwans@rmutl.ac.th

 
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
˜1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการเขียนรายงาน โครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงร่างของโครงงาน การเขียนรายงาน และการนำเสนอ
3.ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์หาทางแก้ปัญหา จากโจทย์ปัญหาหรือกรณีตัวอย่างที่อาจารย์สร้างขึ้น
4.กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ และให้นักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ คนละ 1 หัวข้อ
 
1.พฤติกรรมการเขียนเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน และความก้าวหน้าของโครงงาน
4. ประเมินผลจากเอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงงาน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
˜2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
˜2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ประ กอบ ให้ นักศึกษา ค้นคว้า เพิ่มเติมเพื่อหา หัวข้อโครงงาน
ฝึกปฏิบัติ การเขียน ราย งาน
และการนำเสนอ    นำเสนอความก้าว หน้า ของ โครงงาน ฯต่อ คณะกรรมการที สาขาวิชา แต่งตั้ง 
1. สอบหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และสอบความก้าวหน้าของโครงงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่สาขาวิชา แต่งตั้ง
2.  ประเมินจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน การนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานและรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 บท
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้อง
˜3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 65
˜3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
 
 1.  การกำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อ โครงงาน ทา ง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยต้องนำเสนอโครงร่าง สอบหัวข้อโครงงาน สอบความก้าวหน้าของโครงงาน ต่อคณะ กรรมการที่ ได้รับการแต่งตั้งจากสาขาวิชา 
2. นำเสนอหัวข้อโครงงานที่จะทำและตอบคำถามจากคณะกรรมการ
3. นำเสนอการวิเคราะห์ และออกแบบระบบโครงงานฯ ที่ทำต่อคณะกรรมการ    
 
ขั้นตอนการทำงาน การวิเคราะห์ และนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
 
1.ให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานรายบุคคล
2.จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
3. การนำเสนอหัวข้อโครงการและความก้าวหน้าของโครงการ
 
1.ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
˜5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
 
 
 
 
 
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E-Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2.นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
 
 
 
 
1. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
2. ประเมินจากรายงานและ รูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1 BSCCT903 ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.7, 2.1 -สอบหัวข้อโครงงานวิจัย -สอบความก้าวหน้าของโครงงานวิจัย 6 7-8 10% 10%
2 1.1,1.7,2.1,3.2,4.1 รูปเล่มรายงานความก้าวหน้าของโครงงานวิจัย ตลอดการศึกษา 20%
3 1.1, 1.2, 1.5, 1.7,3.3 -การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดการศึกษา 10%
4 2.1, 2.2, 2.8 สอบกลางภาค 7 20%
5 2.1, 2.2, 2.8 สอบปลายภาค 17 30%
          คู่มือโครงงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์2, 2553. 
            - การสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ  ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน ผลการตรวจแบบฝึกหัด การบ้านและรายงาน
     1.  แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
     2.  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียน
          -ปรับปรุงรายวิชา ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4                
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา