ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์กำลัง

Power Electronics Laboratory

1.1 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค
1.2 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสเฟสเดียว
1.3 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสสามเฟส
1.4 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้เฟสเดียว
1.5 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้สามเฟส
1.6 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียว-สามเฟส
1.7 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรชอปเปอร์   วงจรบัค วงจรบูส  วงจรชุก
1.8 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียว
1.9 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะวงจรอินเวอร์เตอร์สามเฟส
1.10 ทดลองปฏิบัติการ การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส
 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  เตรียมความพร้อมด้านการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
ให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในด้านสวิตชิ่ง  คอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ   
การเชื่อมต่อกริด  การประยุกต์ใช้กับระบบโซล่าร์เซลล์  เป็นต้น
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชา  32082311  อิเล็กทรอนิกส์กำลัง  
(ศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ไดโอดกำลัง ไทริสเตอร์
ทรานซิสเตอร์กำลัง แบบสองรอยต่อ มอสเฟต ไอจีบีที คุณลักษณะของวัสดุแม่เหล็ก
แกนหม้อแปลงกำลัง แกนเฟอร์ไรท์   แกนผงเหล็กอัด   คอนเวอร์เตอร์   เอซี-ดีซี คอนเวอร์เตอร์
   ดีซี-ดีซี คอนเวอร์เตอร์  เอซี-เอซี คอนเวอร์เตอร์   ดีซี-เอซี คอนเวอร์เตอร์)
อาจารย์ประจำรายวิชา   สามารถติดต่อได้ด้วยเบอร์โทรศัพท์มือถือ  อีเมล์  ระบบข้อความอี-เลร์นนิ่ง 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ  รักษ์สิ่งแวดล้อม มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รู้จักประหยัดพลังงานต่าง ๆ  เพื่อลดโลกร้อน  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างการพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้พลังงานชนิดต่าง ๆ ต่อสังคมชุมชน มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2.1 ทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค
      1.2.2 ทดลองปฏิบัติการ วงจรเรียงกระแสเฟสเดียว โหลด R ,L ,C
      1.2.3 ทดลองปฏิบัติการ วงจรเรียงกระแสสามเฟส โหลด R ,L ,C
      1.2.4 ทดลองปฏิบัติการ วงจรเรียงกระแสควบคุมได้เฟสเดียว โหลด R ,L ,DC Motor
      1.2.5 ทดลองปฏิบัติการ วงจรเรียงกระแสควบคุมได้สามเฟส โหลด R ,L ,DC Motor
      1.2.6 ทดลองปฏิบัติการ วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียว-สามเฟส โหลด R ,L
      1.2.7 ทดลองปฏิบัติการ วงจรชอปเปอร์   วงจรบัค  วงจรบูส ชุวงจรก โหลด R ,L , DC Motor
      1.2.8 ทดลองปฏิบัติการ วงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียว โหลด R ,L
      1.2.9 ทดลองปฏิบัติการ การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส
      1.2.10  อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องปฏิบัติการ
      1.2.11 ให้นักศึกษาทำการบ้าน แบบทดสอบ  รายงาน  ในระบบอีเลิร์นนิ่ง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลการสรุปวิเคราะห์ผลการทดลองใบงานต่าง ๆ
1.3.4   ประเมินผลการทำแบบทดสอบในระบบอี-เลิร์นนิ่ง
ผลการสรุป วิเคราะห์จากการทดลองปฏิบัติการ คุณลักษณะ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค  คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสเฟสเดียว    คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสสามเฟส
คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้เฟสเดียว   คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้สามเฟส
คุณลักษณะวงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียว-สามเฟส  คุณลักษณะวงจรชอปเปอร์   วงจรบัค
คุณลักษณะวงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียว   การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส
นักศึกษาจะต้องสามารถใช้งานเครื่องมือวัดไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง และมีทักษะในการตรวจวัดให้เหมาะสมกับงาน
เช่นการใช้ดิจิตอลออสซิลโลสโคป  การใช้โวลต์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ การใช้แคลมป์วัดกระแส
วัดรูปคลื่นกระแสและรูปคลื่นแรงดัน การวัดความถี่  ดิวตี้ไซเคิล ค่าอาร์เอ็มเอส ค่าเฉลี่ย
ค่ายอด
เป็นต้น
บรรยาย  และเทคนิคการทดลองปฏิบัติการต่าง ๆ การใช้เครื่องมือวัด ดิจิตอลออสซิลโลสโคป 
การใช้โวลต์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ การใช้แคลมป์วัดกระแส   การใช้มัลติมิเตอร์ชนิดต่าง ๆ 
การใช้อุปกรณ์คอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการ      ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลผู้ผลิต
จากเว็บไซต์ต่าง ๆ  และเอกสารประกอบต่าง ๆ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้
  ทำแบบทดสอบในระบบอี-เลิร์นนิ่ง  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
  2.3.1  คะแนนผลการทดลองใบงานภาคปฏิบัติ
  2.3.2  คะแนน กิจกรรม  แบบทดสอบ และรายงานในระบบ อีเลิร์นนิ่ง      
พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ สรุป การออกแบบคอนเวอร์เตอร์ ชนิดต่าง ๆ ได้  
สามารถเลือกใช้อุปกรณ์สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลังได้
 สามารถใช้งานเครื่องมือวัดและทดสอบในด้านอิเล็กทรอนิกส์กำลังได้
 เช่นดิจิติลออสซิลโลสโคป   ดิจิตอลมัลติมิเตอร์  แคล้มป์วัดกระแสตรง/กระแสสลับ
บรรยาย  และเทคนิคการทดลองปฏิบัติการต่าง ๆ การใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ  การใช้อุปกรณ์คอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการ     
ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลผู้ผลิต จากเว็บไซต์ต่าง ๆ  และเอกสารประกอบต่าง ๆ 
เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้  ทำแบบทดสอบในระบบอี-เลิร์นนิ่ง  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  3.3.1  คะแนนผลการทดลองใบงานภาคปฏิบัติ
  3.3.2  คะแนนการสอบภาคปฏิบัติ
  3.3.3  คะแนน กิจกรรม  แบบทดสอบ การคำนวณ  หรือรายงานในระบบ อีเลิร์นนิ่ง 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมในระบบอีเลิร์นนิ่ง เพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล   อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3.1  คะแนนจากกิจกรรม แบบทดสอบในระบบอีเลิร์นนิ่ง
4.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกระดานเสวนา
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
 
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ สูตรการคำนวณต่าง ๆ
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน  หรือในระบบอีเลิร์นนิ่ง
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร โดยใช้ระบบอีเลิร์นนิ่งในการเสริมการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน  เช่นกระดานเสวนา
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน e-Learning และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากผู้ผลิต  จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่นเว็ปไซต์ของผู้ผลิต
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point , PDF
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย หรือกระดานเสวนา
6.1.1  นศ. สามารถใช้มัลติมิเตอร์ได้
6.1.2  นศ. สามารถใช้ออสซิลโลสโคปได้
6.1.3  นศ. สามารถใช้เครื่องมือวัดกระแสได้
6.1.4  นศ. สามารถใช้ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกส์กำลังได้
6.1.5 นศ. สามารเรียนวงจรคอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ ของอิเล็กทรอนิกส์กำลังได้
6.2.1  สอนการใช้งาน มัลติมิเตอร์ และมีคู่มือ ต่าง ๆ ให้ศึกษา มีโบว์ชัวร์การใช้งานเครื่องมือวัดต่างๆ 
6.2.2  สอนการใช้งาน ออสซิลโลสโคป และมีคู่มือ ต่าง ๆ ให้ศึกษา มีโบว์ชัวร์การใช้งานเครื่องมือวัดต่างๆ 
6.2.3  สอนการใช้งาน เครื่องมือวัดกระแส และมีคู่มือ ต่าง ๆ ให้ศึกษา มีโบว์ชัวร์การใช้งานเครื่องมือวัดต่างๆ 
6.2.4  สอนการใช้งาน ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกส์กำลังได้ 
6.2.5 สอนการใช้งาน ตามใบงานการทดลอง  ให้ นศ. ทำตามลำดับขั้นการทดลอง วงจรคอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ ของอิเล็กทรอนิกส์กำลังได้
6.3.1  สังเกตุการใช้งาน มัลติมิเตอร์ ของ นศ. แต่ละคน ในขณะทำการปฏิบัติการทดลอง
6.3.2  สังเกตุการใช้งาน  ออสซิลโลสโคป ของ นศ. แต่ละคน ในขณะทำการปฏิบัติการทดลอง
6.3.3  สังเกตุการใช้งาน เครื่องมือวัดกระแส ของ นศ. แต่ละคน ในขณะทำการปฏิบัติการทดลอง
6.3.4  สังเกตุการใช้งาน ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกส์กำลัง  ของ นศ. แต่ละคน ในขณะทำการปฏิบัติการทดลอง
6.3.5  ตรวจผลรายงานการ ทดลองจากใบงานการทดลอง  ของ นศ. แต่ละคน ส่งเมื่อเสร็จสิ้นการทดลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 32082312 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค ไอจีบีที มอสเฟต ตรวจรายงานผลการทดลอง 2 10%
2 วงจรเรียงกระแสเฟสเดียว – สามเฟส ตรวจรายงานผลการทดลอง 4 20%
3 วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เฟสเดียว – สามเฟส ตรวจรายงานผลการทดลอง 7 10%
4 วงจรชอปเปอร์ วงจรบัค วงจรบูส วงจรชุก ตรวจรายงานผลการทดลอง 10 10%
5 วงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียวและสามเฟส ตรวจรายงานผลการทดลอง 12 10%
6 การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส ตรวจรายงานผลการทดลอง 16 10%
7 ให็ นศ. ทำ การบ้าน รายงาน แบบทดลอง ในระบบอีเลิร์นนิ่ง ตรวจและให้คะแนน การบ้าน รายงาน แบบทดลอง ในระบบอีเลิร์นนิ่ง 17 30
8 คะแนนภาคจิตพิสัย หรือรายงาน สังเกตการทำทดลองภาคปฏิบัติ การจัดทำรายงานส่ง 17 10
 เอกสาร ใบงานภาคปฏิบัติ   ของ ผศ.สุรศักดิ์  อยู่สวัสดิ์
 เอกสาร ใบงานภาคปฏิบัติ   ของ ผศ.สุรศักดิ์  อยู่สวัสดิ์
 เอกสาร ใบงานภาคปฏิบัติ   ของ ผศ.สุรศักดิ์  อยู่สวัสดิ์
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านกระดานเสวนา ในระบบอีเลิร์นนิ่ง

ประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา ผ่านระบบไอทีของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการปฏิบัติ การร่วมกิจกรรม ผลแบบทดสอบ  ผลการสอบของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  แบบทดสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   จัดหาอุปกรณ์ ใช้งานจริงในภาคอุตสหการรม ให้ นศ.ได้ศึกษาและทดลองใช้งาน