อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

Industrial Electronics

ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง, ไทริสเตอร์, สัญญาณควบคุมไทริสเตอร์, การจุดชนวน, การควบคุมเฟส, การควบคุมอัตโนมัติโดยอาศัยอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ขับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานประยุกต์ความรู้เพื่อเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง, ไทริสเตอร์, สัญญาณควบคุมไทริสเตอร์, การจุดชนวน, การควบคุมเฟส, การควบคุมอัตโนมัติโดยอาศัยอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ขับ  แก้ไข
ตามความต้องการของนักศึกษา
มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1. เน้นสร้างสถานการณ์ เพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรม ด้าน วินัยการแต่งการ การตรงต่อเวลา ฝึกการรับผิดชอบต่อระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย โดยการเสริมแรงทางบวก
2. สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมไทยทุกครั้งที่มีการเรียนการสอน
3. จัดให้มีการทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึกการทำงานเป็นทีม และฝึกการแก้ปัญหาจากส่วนที่เล็กๆ เพื่อได้ปรับตนเองเมื่อมีปัญหาใหญ่ขึ้น
สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก ประเมินผลด้านวินัยการแต่งกาย การตรงต่อเวลา ตลอดจนความรับผิดชอบต่อหน้าที่  จากการบันทึกคะแนน และนำผลเป็นส่วนหนึ่งด้านจิตพิสัยของการวัดผล
มีความรู้ในหลักการ เกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง, ไทริสเตอร์, สัญญาณควบคุมไทริสเตอร์, การจุดชนวน, การควบคุมเฟส, การควบคุมอัตโนมัติโดยอาศัยอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ขับ 
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิติและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การมอบให้นักศึกษาทำที่ใช้การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการสืบค้นข้อมูลทั้งจากตำราเรียน ตำราในห้องสมุดหรือแหล่งความรู้อื่น รู้จักการสืบค้นทางอินเตอร์เนต
2. อภิปรายกลุ่ม
1.   วัดผลจากการประเมินผลงาน  และการนำเสนอผลงาน
2.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
1.   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
2.   การนำเสนอรายงาน
1.  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
สามารถใช้เครื่องมือในการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
สอนการใช้เครื่องคำนวณทางวิศวกรรม
1.   ประเมินจากผลงาน
2.   ประเมินจากทักษะการใช้เครื่องคำนวณทางวิศวกรรม
จัดการเรียนรู้ก่อให้เกิดทักษะสอดคล้องกับประเด็นการศึกษา
ฝึกทักษะใรห้องปฏิบัติการ
ประเมินผลการปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินความก้าวหน้าทางการเรียนภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 8 และ 17 สอบกลางภาค 20 สอบปลายภาค 20 วัดผลภาคปฏิบัติ 30 งาน 20 จิตพิสัย 10
ตำราเรียน อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษารายหน่วยเรียน
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ