เครื่องทุ่นแรงฟาร์มและระบบการให้น้ำ

Farm Machinery and Irrigation System

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ชนิดของรถแทรกเตอร์ การใช้งาน และการบำรุงรักษา ชนิดของเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม การใช้งาน และการบำรุงรักษา การให้น้ำพืชทางผิวดิน การให้น้ำพืชแบบฉีดฝอย และการให้น้ำพืชแบบหยด
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในชนิดของรถแทรกเตอร์ การใช้งาน และการบำรุงรักษา ชนิดของเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม การใช้งาน และการบำรุงรักษา การให้น้ำพืชทางผิวดิน การให้น้ำพืชแบบฉีดฝอย และการให้น้ำพืชแบบหยด และเพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ชนิดของรถแทรกเตอร์ การใช้งาน และการบำรุงรักษา ชนิดของเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม การใช้งาน และการบำรุงรักษา การให้น้ำพืชทางผิวดิน การให้น้ำพืชแบบฉีดฝอย และการให้น้ำพืชแบบหยด
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
11. การสอนแบบบรรยาย  
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
˜ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜ 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
สหกิจศึกษา/ฝึกงาน
โครงงาน
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 24013417 เครื่องทุ่นแรงฟาร์มและระบบการให้น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 – 5.2 6.1 – 10.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 7 17 30% 30%
2 1.1 –10.4 การทำรายงาน 18-19 20%
3 1.1 – 10.4 การทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 14%
- พงศธร ศิริอ่อน , วิศวกรรมระบายน้ำ ,วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร , สิทธิพัฒน์ จำนงศิลป , ยุทธชัย รุจิวิมล , Macromedia Dreamweaver MX
- มนตรี ค้ำชู , ชลศาสตร์จุลภาค , วิทยาลัยการชลประทาน , สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วสันต์ บุญเกิด , การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วิบูลย์ บุณยธโรกุล , รศ.ดร.2526.หลักการชลประทาน , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- สุรวุฒิ กอสุวรรณศิริ , 2544 ,เสริมแต่งโฮมเพจครั้งใหม่ ให้มีชีวิตชีวาด้วย JavaScript อรุณ อินทรปาลิต ,การวางแผนและออกแบบระบบการส่งน้ำ , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
(จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมหรือไม่ ถ้าจำเป็นให้ใส่ด้วยคำอธิบายตัวสีแดงเขียนด้วยลายมือ)
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- ประเมินจากผลการประเมินผู้เรียนโดยดูจากคะแนนผลการสอบปฏิบัติรายบุคคล
 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
-ประเมินจากคะแนนสอบปฏิบัติย่อยรายบุคคลถ้าพบว่านักศึกษามีข้อด้อยด้านในจะต้องพัฒนาการสอนด้านนั้นให้มากขึ้นตามลำดับความสำคัญ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4