ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 3

Interior Architectural Design 3

1. เข้าใจ กระบวนการออกแบบ และ รวบรวมข้อมูลรูปแบบ วิธีการจัดแสดงสินค้าประเภทต่างๆและ งานระบบที่เกี่ยวข้องทราบ 2. ทราบหลักการและองค์ประกอบ ในการออกแบบแนวคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน พื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรม 3. สามารถออกแบบตกแต่งภายในพื้นที่พาณิชยกรรมประเภทต่างๆทั้งภายในและภายนอก
1. ปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้ทันสมัย
2. ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนเน้นศึกษาข้อมูลเฉพาะของร้านเพื่อการพาณิชย์ กรรมและสำนักงานก่อนทำการออกแบบ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน พื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรม โดยใช้กระบวนการออกแบบ และ รวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบ ในการออกแบบแนวคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน และ งานระบบที่เกี่ยวข้อ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ประกอบการจริงโดยใช้กระบวนการออกแบบ หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน และงานระบบที่เกี่ยวข้อง ทำการวิเคราะห์โครงการ ศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาจริง และศึกษาดูงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลตามความต้องการ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
 

มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

2.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 

ฝึกให้นักศึกษาออกแบบด้วยการพัฒนาแนวคิดของตนเองเท่านั้น ตรวจรายชื่อนักศึกษาก่อนเข้าเรียนทุกครั้ง กำหนดระยะเวลาการส่งงานให้นักศึกษาทราบอย่างชัดเจน
1.3.1 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.3 ประเมินผลจากความรับผิดชอบในปฏิบัติงาน ภายในห้องเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 มีการบรรยาย ยกตัวอย่างด้วยภาพถ่ายงานตกแต่งภายใน และภาพผลงาน การออกแบบ มอบหมายให้สืบค้นข้อมูลและจัดทำรายงาน
2.2.2 ฝึกให้นักศึกษามีการพัฒนาแนวความคิดในการออกแบบอย่างเป็นระบบ ตลอดจนการให้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ รายงาน และ การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ให้หลักการในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้งาน และข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบ พร้อมยกตัวอย่างในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในพื้นที่ต่างๆภายในที่พักอาศัย
3.2.2 การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าหาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ
3.2.3 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติการจัดวางผัง และออกแบบพื้นที่ต่างๆภายในที่พักอาศัย
3.3.1 วัดผลจากการประเมินผลงานรายงาน และ การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน ดังนี้
- รายงานการศึกษาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ
- การนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ออกแบบ
3.3.2 สังเกตจากกระบวนการทำงาน และการแก้ปัญหาในการทำงาน ของนักศึกษา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานทำรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.2.2 รายงานนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 การนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
2 รายงานที่ส่ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3
1 42021303 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ รายงาน และ การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน 8 16 1-3 5% 5% 10%
2 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ การประเมินผลการออกแบบ(Sketch Design) การประเมินการทำงานตามกระบวนการออกแบบ ประเมินการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 4-7 8-15 ตลอดหลักสูตร 20% 10%
3 1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม การประเมินผลการออกแบบ(Sketch Design) การประเมินการทำงานตามกระบวนการออกแบบ ประเมินการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 4-7 8-15 ตลอดหลักสูตร 40%
- การออกแบบและจัดพื้นที่SHOP
- Architects’ Data Shop Spaces
- การออกแบบแสงสว่างภายในร้านค้า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการจัดวางผัง และ การตกแต่งร้านค้า
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ