ปฎิบัติงานเทคนิคพื้นฐาน

Basic Technical Practices

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องปฏิบัติการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทั่วไป เครื่องมือวัดเบื้องต้น เครื่องมือร่างแบบ เครื่องมือช่างพื้นฐาน การเลื่อย การตะไบ งานสกัด การลับคมตัด การเจาะ การทำเกลียวด้วยมือ การบัดกรี การแล่นประสาน
พื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้พื้นฐานทางด้านการปฏิบัติการงานวิศวกรรม สามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการปรับปรุงให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
 
 
 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทั่วไป เครื่องมือวัดเบื้องต้น เครื่องมือร่างแบบ เครื่องมือช่างพื้นฐาน การเลื่อย การตะไบ งานสกัด การลับคมตัด การเจาะ การทำเกลียวด้วยมือ การบัดกรี การแล่นประสาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
สอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงภาระ ความรับผิดชอบของอาชีพครู และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากครูไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น

ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2    สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ปฏิบัติการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทั่วไป เครื่องมือวัดเบื้องต้น เครื่องมือร่างแบบ เครื่องมือช่างพื้นฐาน การเลื่อย การตะไบ งานสกัด การลับคมตัด การเจาะ การทำเกลียวด้วยมือ การบัดกรี การแล่นประสาน รวมทั้งต้องมีความรู้เพียงพอในการประยุกต์ในงานจริงได้
สอนโดยมีทฤษฎีหัวงาน (บรรยาย , ถามตอบ , สาธิต , ของจริง) และลงฝึกปฏิบัติตามใบงานที่ได้ในแต่ละสัปดาห์
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.3.2   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม
สามารถปฏิบัติงานตามใบงานได้อย่างถูกต้อง
 3.2.1   สอนโดยมีทฤษฎีหัวงาน (บรรยาย , ถามตอบ , สาธิต , ของจริง)
3.2.2   ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่ได้ในแต่ละสัปดาห์
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   สอนโดยมีทฤษฎีหัวงาน (บรรยาย , ถามตอบ , สาธิต , ของจริง)
 4.2.2   ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่ได้ในแต่ละสัปดาห์
4.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
4.3.1   ประเมินจากการลงปฏิบัติงาน 
4.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากใบงาน
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ผศ.จำนงค์ ฉายเชิด พื้นฐานทางวิศวกรรม สำนักพิมพ์ SCIENCE CENTER  ปี 2536 
 
ข้อมูลจากเว็บไซต์
http://www. onec.go.th/publication/48049/sara_48049.htm
คู่มือการบริหารและการปฏิบัติงาน ตามกรอบภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ สำนักงาน
พัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์. ม.ป.ป. เครื่องมือการบริหารจัดการสมัยใหม่. กรรมการผู้จัดการ -กลุ่มบริษัทชัยบูรณ์บราเดอร์ส. [เอกสารอัดสำเนา]
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ปฏิบัติงานของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   งานที่ได้จากในงาน
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ