ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

Special Problems in Plant Science

1.1 เข้าใจกรบวนการทดสอบ สมมุติฐานจากปัญหา 1.2 นำความรู้ ทักษะในวิชาไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริงและการใช้ชีวิต 1.1 มีทักษะในการเขียนรายงานที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
-  ฝึกนักศึกษาให้ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต และปัญหาทาง้านพืชศาสตร์ แลเ้วเขียนรายงานที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และวิเคราะห์เพื่อทราบถึงคำตอบหรือสาเหตุข้อสงสัยจากสมติฐานที่ตั้งไว้
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียนและใช้วิธีการสื่อสารกับนักศึกษาโดยช่องทางสื่อสารออนไลน์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การสอนโดยปฏิบัติแบบรายบุคคล
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย  - ปฏิบัติงานทดลองโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม - การเสนอโครงงานเพื่อช่วยเหลือสังคม - การปฏิบัติงานที่มุ่งผลสัมฤฤทธิ์ของงาน - งานมอบหมายเสร็จตามกำหนดเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการณ์ความรู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสอนโดยปฏิบัติแบบรายบุคคล
1. งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่าง 2. รายงานทางวิชาการ 3. การนำเสนองาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยปฏิบัติแบบรายบุคคล
1. งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่าง 2. รายงานทางวิชาการ 3. การนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนโดยปฏิบัติแบบรายบุคคล
สังเกตุพฤติกรรมของนักศึกษาในการดำเนินงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 เพื่อใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้น - การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ - การใช้ power poit ในการนำเสนองาน - การใช้ภาษาในการเขียนและพูดที่ถูกต้องเข้าใจง่าย
- ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่รายงานและอ้างอิงที่ถูกต้อง - การนำเสนอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.2, 2.3, 5.1 และ 5.2 งานมอบหมาย 1-3 15%
2 1.3, 2.2, 2.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1 และ 5.2 การนำเสนอโครงการ 9 35%
3 1.3, 2.2, 2.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1 และ 5.2 ผลงานการปฏิบัติ / ศึกษา 3-16 30%
4 2.2, 2.3, 5.1, 5.2 และ 5.3 การเขียนรายงาน 16 20%
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร.  2556.  คู่มือปัญหาพิเศษ.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, เชียงใหม่.
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร.  ๒๕๕๕.  คู่มือวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.  เชียงใหม่.
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขา
สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชา เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขามีกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขา/ คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป