ทักษะวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 1

Practical Skills in Food Science and Technology 1

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ มีทักษะในการฝึกปฏิบัติการคัดเลือกวัตถุดิบทางการเกษตร การใช้เครื่องมืออุปกรณ์และการบำรุงรักษา เครื่องมือในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์ธัญพืช
1. จุดมุ่งหมาย:
1.1 1. เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารระดับปริญญาตรีที่มี
ความรู้ความสามารถทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมและมีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม
3. เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางานทางด้านอุตสาหกรรมอาหารโดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
ฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การใช้เครื่องมืออุปกรณ์และการบำรุงรักษาเครื่องมือในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์  ผลิตภัณฑ์ธัญพืช และวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง...FT 301...โทร... 098 7480766
3.2 e-mail; necapes@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ให้นักศึกษาตระหนักถึงความมีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง2.การเขียนบันทึก
3.การสังเกต4.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯและคณะจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาและการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโสและอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน สอดแทรกความรู้ให้นักศึกษาระหว่างที่นักศึกษากำลังปฏิบัติงาน
ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนเป็นรายบุคคล เช่นความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่องานมอบหมาย และประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
ประเมินจากการคิดคำนวณสูตร การฝึกปฏิบัติการตามลำดับขั้นตอน ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้จากการปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานแบบกลุ่ม
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนภาคปฏิบัติ
ประเมินผลจากการทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงาน การตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาการแต่งกายที่เหมาะ สมและการทำความ สะอาดหลังการปฏิบัติ สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นจากการส่งรายงานบทปฏิบัติการ
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้รู้จักวิเคราะห์การคิดคำนวณสูตร การใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ประเมินจากความสนใจความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย และจากผลงานการปฎิบัติ
ประเมินจากความสนใจความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย และจากผลงานการปฎิบัติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
สอบภาคปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต 2มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต 3มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต 4มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต 5มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต 6มีทักษะในการเรียนรู้และปฏิบัต หน่วยเรียน ผลการปฎิบัติงานตามมอบหมาย ผลการปฎิบัติงานตามมอบหมาย สอบกลางภาค ผลการปฎิบัติงานตามมอบหมาย สอบปลายภาค คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-15 ทุกสัปดาห์ 7 8 17 17 25 25 5 25 10 10 100 %
คณาจารย์ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์. 2549. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
จุฑามาศ ถิระสาโรช. 2552. ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, คณะวิทยาศาสตร์การเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา, พิษณุโลก.
ไพบูลย์ ธรรมรัตน์วาสิก. 2535. กรรมวิธีการแปรรูปอาหาร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ กรุงเทพฯ.
รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมแปรรูปอาหาร : การถนอมอาหาร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ กรุงเทพฯ.
วิชัย หฤทัยธนาสันติ์. 2523. หลักการถนอมและแปรรูปผักและผลไม้. ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
สมบัติ ขอทวีวัฒนา. 2529. กรรมวิธีการอบแห้ง. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
สมบัติ ขอทวีวัฒนา. 2546. เทคโนโลยีน้ำตาล. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลทางอินเทอร์เนตเกี่ยวการแปรรูปอาหารสมัยใหม่
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับเครื่องมือในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์ธัญพืช ในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาสและการเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์หีือผู้ประกอบการ
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
: จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ