การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System Analysis

1. เข้าใจโครงข่ายการส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า
2. วิเคราะห์การไหลกำลังไฟฟ้า
3. เข้าใจการควบคุมการไหลกำลังไฟฟ้า
4. วิเคราะห์ฟอลท์ แบบสมมาตรและไม่สมมาตร
5. เข้าใจเสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง
6. เข้าใจการทำงานอย่างประหยัดของระบบไฟฟ้ากำลัง
7. เข้าใจระบบสายดิน
8. เห็นความสำคัญของการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการคำนวณโครงข่ายการส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า การวิเคราะห์การไหลกำลังไฟฟ้า การควบคุมการไหลกำลังไฟฟ้า การวิเคราะห์ฟอลท์ แบบสมมาตรและไม่สมมาตร เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง การทำงานอย่างประหยัดของระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบสายดิน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1) สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
2) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
3) จัดกลุ่มทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในเนื้อหาวิชา
4) วิเคราะห์และการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลองที่ใช้ทักษะและความรู้ทางด้านวิศวกรรม
5) ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพพร้อมสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม
1) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม
3) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและผลจากการแก้ปัญหา
4) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น  สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1)สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ
2) ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
3) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์          ความรู้ 
มีการสอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
4) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน
1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและ
การปฏิบัติการ
2) การทดสอบย่อย
3) พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
4) ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน
1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4)  มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
5)    สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง  เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต  และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1) อธิบายระบบความคิด
มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
2) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
3) มีการฝึกทักษะการวิเคราะห์
4) มอบหมายให้ดำเนินการ
1) สังเกตพฤติกรรม
2) การสอบถาม
3) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1)  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม

สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1) ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรม  ในหัวข้อการเรียน เพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
2) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1) ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2) สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญญลักษณ์
5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในการวิเคราะห์
ประเมินจากผลงานในแต่ละหัวข้อที่มอบหมาย
และการนำเสนอผลงาน
1)    มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2)    มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความ
ร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1) สอนให้มีการปฏิบัติการจนมีความเชี่ยวชาญในแต่ละหัวข้อของวิชา
2)ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
รายงานผลแต่ละหัวข้อของวิชา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE119 การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 2.1-2.5, 3.1-3.5 4.1-4.2, 5.1-5.4, 6.1-6.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 20%
2 1.1-1.4, 2.1-2.5, 3.1-3.5 4.1-4.2, 5.1-5.4, 6.1-6.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1-1.4, 3.1-3.5 4.1-4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
วันไชย  คำเสน. ระบบไฟฟ้ากำลัง. เชียงใหม่ : สยามพิมพ์นานา, 2559.
ธนวัฒน์  ฉลาดสกุล.  การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง.  กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2547.
โตศักดิ์  ทัศนานุตริยะ.  การผลิต การส่งและการจ่ายไฟฟ้า.  กรุงเทพ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2540.
มงคล  ทองสงคราม.  การส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า.  กรุงเทพ : รามาการพิมพ์, 2541.
ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์.  การป้องกันระบบไฟฟ้า.  กรุงเทพ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545.
ชวลิต  ดำรงรัตน์.  การส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า เล่ม 1.  กรุงเทพ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2533.
J. J. Grainger and W. D. Stevenson.  Power System Analysis.  New Jersey : McGraw-Hill, c1994.
A. J. Wood and B. F. Wollenberg,  Power generation,  operation, and control.  2nd ed. New York : John Wiley & Sons, 1996.
Charles A. Gross.  Power System Analysis. New York : John Wiley & Sons, c1996.
              W. D. Stevenson.  Element ofhttp://161.200.139.232/cgi-bin/main/2003/description.asp?barcode=9780070665842 Power System Analysis. New Jersey : McGraw-Hill, c1982.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป