ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง

Artificial Intelligence and Machine Learning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน องค์ประกอบ ประโยชน์การใช้งานปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความพร้อมในการแก้ปัญหาการโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง และการนำความรู้ ความเข้าใจในด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หรือสาขาอาชีพอื่น ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
การเรียนรู้ของเครื่องและทฤษฎีการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบมีผู้สอน การเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอน  การจัดกลุ่มการเรียนรู้แบบเสริมก าลัง ข่ายงานประสาทเทียม การเรียนรู้เชิงลึก เครื่องโบลทซ์มันน์  
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ  1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1)   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสีย สละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
(2)   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
(3)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 
(1) ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 
(2) สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรม และจริยธรรม 
(3) ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม 
(4) ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ  
(1)  การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 
(2)  พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 
(3)  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
(1)   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(2)  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขา วิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 
(1) ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
(2) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
(3) มอบหมายงานโครงงานโดยใช้หลักการวิจัย
(4) การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 
(1) ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา
(2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย 
(1)  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
(2)  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3)  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 
(1) ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
(2) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
(3) มอบหมายงานโครงงานโดยใช้หลักการวิจัย
(4) การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 
(1) ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา
(2) ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
(3) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย ทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(1) สอนทฤษฎีของปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง 
(2) ให้ความสำคัญในการทำงานให้เกิดความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ 
(3) ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล 
(4) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(1) ประเมินจากการสอบภาคทฤษฎีและงานที่ได้รับมอบหมาย 
(2) ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
(1)  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
(2)  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(3)  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องได้ 
(1) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
(2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
(3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย  
(4) ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
(1) ประเมินผลจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  
(2) ประเมินจากผลงาน และความสนใจต่อการเรียน 
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เนื้อหาจากการสอนสัปดาห์ที่ 1-15 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 40% 40%
2 งานที่ได้รับมอบหมาย จัดทำรายงาน นำเสนอหน้าชั้นเรียน 16 10%
3 การเข้าชั้นเรียน ความตั้งใจ ตลอดภาคการศึกษา 10%
Artificial Intelligence with Machine Learning โดย รศ.ดร.ปริญญา สงวนสัตย์
แหล่งความรู้จากอินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้ สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- ปรับปรุงสื่อการสอนคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมช่วยแสดงผลการจำลองการเขียนโปรแกรม 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้ คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ