คอมพิวเตอร์สำหรับงานวิศวกรรมโยธา

Computer Programs for Civil Engineering

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานวิศวกรรมโยธา และประยุกต์ใช้โปรแกรมทางด้านวิศวกรรมโยธาในการวิเคราะห์และออกแบบ เห็นคุณค่าและความสำคัญของหลักการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานวิศวกรรมโยธา  สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริงได้ด้วยความถูกต้องตามหลักวิชาการ 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถเลือกโปรแกรมสำเร็จรูปในงานวิศวกรรมโยธาให้เหมาะสมกับสภาพปัญหา รูปแบบจำลองระบบต่างๆ เพื่อเป็นพื้นฐานและประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพต่อไป
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการประยุกต์โปรแกรมเพื่อการออกแบบ และ เขียนแบบในงานวิศวกรรมโยธา การคำนวณงานก่อสร้าง การน่าเสนอ ผลงาน การจัดฐานข้อมูล การวิเคราะห์งานและการแก่ไขป้ญหาทางด้าน วิศวกรรมโยธา  
1  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5     มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณ
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติมประสบการณ์

1.2.4 มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน  กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
เข้าใจและสามารถเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานวิศวกรรมโยธาให้เหมาะสมกับงานและรูปแบบจำลองโครงสร้างทางวิศวกรรมโยธา และรู้แนวทางประยุกต์ใช้โปรแกรมทางด้านวิศวกรรมโยธาในการวิเคราะห์และออกแบบ
บรรยาย  อภิปราย และการทำงานกลุ่มโดยมอบหมายให้เลือกรูปแบบจำลองทางวิศวกรรมโยธา และนำมาวิเคราะห์หรือออกแบบตามขีดจำกัดสมรรถภาพของโปรแกรมสำเร็จรูปทางวิศวกรรมโยธา  และนำมาเสนอให้ผู้เรียนร่วมชั้นได้เข้าใจทั่วถึงกัน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการรู้จักการประยุกต์ใช้งาน
2.3.2   ประเมินจากการแนวคิด ความถูกต้อง และการนำเสนอของโครงงานกลุ่ม
             2.3.3  ประเมินจิตพิสัยผู้เรียน
พัฒนาความสามารถในการคิด และความเข้าใจ ให้เป็นไปตามระบบในทางทฤษฎีและปฏิบัติ  เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพต่อไป
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำงานกลุ่มที่ให้วิเคราะห์ ออกแบบและแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์หรือออกแบบระบบรูปแบบจำลองกรณีศึกษา
และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง
4.2.2   การนำเสนอผลงานและรายงานและมีวิธีการตรวจสอบความเข้าใจและถูกต้อง
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานและรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล  คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และฝึกการใช้งานของโปรแกรมสำเร็จรูป และตรวจสอบความถูกต้อง
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคาระห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสาระสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV036 คอมพิวเตอร์สำหรับงานวิศวกรรมโยธา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2, 2.4,2.5, 3.1 – 3.5, 4.3 – 4.5, 5.1-5.5, 6.1-6.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 25% 25%
2 2.1,2.2, 2.4,2.5, 3.1 – 3.5, 4.3 – 4.5, 5.1-5.5, 6.1-6.2 การทำงานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 2.1,2.2, 2.4,2.5, 3.1 – 3.5, 4.3 – 4.5, 5.1-5.5, 6.1-6.2 1.1 – 1.5, 2.2, 2.3, 2.5 3.1-3.5, 4.2-4.5 5.1-5.5, 6.1-6.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สร้างไดอะแกรม เขียนแปลนอาคาร และผังไฟฟ้าด้วย Visio 2013

คู่มือใช้งาน Microsoft Excel 2013

 
Microsoft Project 2013 บริหารคน บริหารโครงการ ให้อยู่หมัด
คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Revit Structure 2018
การวิเคราะห์โครงสร้างเหล็กโดยใช้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis Professional 2020
 
 
 
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ