งานระบบและอุปกรณ์อาคาร

System and Equipment for Building

เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้และเข้าใจ ทฤษฎีและหลักการพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับงานระบบในอาคารขนาดใหญ่และ อาคารสูง ระบบเปลือกอาคาร ระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบประปา และสุขาภิบาล ระบบสื่อสาร ระบบเสียง ระบบระบายอากาศและการปรับอากาศ ระบบขนส่งในอาคาร ระบบความปลอดภัยในอาคาร ระบบการอพยพหนีไฟ รวมถึง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดในการออกแบบงานระบบอาคาร และ ผลกระทบ ต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมของงานระบบอาคาร
เพื่อให้นักศึกษา สามารถเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ในงานแบบวิชาชีพสถาปัตยกรรม และวิชาชีพวิศวกรรม และสามารถนำไปปรับปรุงแก้ไข นำเสนอผลงานในวิชาชีพสถาปัตยกรรม ได้อย่างถูกต้อง และอย่างเป็นระบบ
ศึกษาทฤษฎีและหลักการพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับงานระบบในอาคารขนาดใหญ่และ อาคารสูง ระบบเปลือกอาคาร ระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบประปา และสุขาภิบาล ระบบสื่อสาร ระบบเสียง ระบบระบายอากาศและการปรับอากาศ ระบบขนส่งในอาคาร ระบบความปลอดภัยในอาคาร ระบบการอพยพหนีไฟ รวมถึง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดในการออกแบบงานระบบอาคาร และผลกระทบ ต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมของงานระบบอาคาร Study of theories and basic principles related to the systems of large scale and high rise buildings, building envelope systems, electric power and lighting systems, plumbing and sanitary systems, communication systems, sound, ventilation and air conditioning, conveying system, building safety system, fire evacuation system, including relevant laws, design concept of building system and impacts on architectural design.
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

- อาจารย์จัดเวลาทำกิจกรรมเสริมประกอบการเรียน สร้างเสริมประสบการณ์ตรงให้นักศึกษาตามโอกาสอันสมควร
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้            1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
1.2.3 จัดทำรายงานสรุป ผลงานที่ได้ค้นคว้ามาในระหว่างภาคเรียน  
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา

1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม

1.3.3   ประเมินผลจากความรับผิดชอบในปฏิบัติงานเขียนแบบ ภายในห้องเรียน
2.1.1 ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการเบื้องต้นในเนื้อหาที่ศึกษา

2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา

2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  การนำเสนอรายงาน มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี

2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  รายงาน
การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ จากพื้นฐานข้อมูลที่ถูกต้อง สามารถประยุกต์การเรียนรู้ด้วยตัวเองแล้วไปตรวจสอบงานเขียนแบบได้  ตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้

3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิขาการหรือวิชาชีพ

3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์แนวทางเลือก จนถึงการนำมาใช้

3.2.2   มีการนำหลักการเบื้องต้น ในเรื่องเทคโนโลยีงานระบบและอุปกรณ์อาคาร ชั้นสูง มาเปรียบเทียบหาแนวทางเลือกที่เหมาะสม มาใช้งานงานวิชาชีพสถาปัตยกรรม
3.3.1   วัดผลจากการประเมิน จากรายงานที่ได้ค้นคว้า และการวิเคราะห์ และสังเคราะห์

3.3.2   สังเกตพฤติกรรมในการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงาน
1 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 
1) มอบหมายงานให้มีความรับผิดชอบร่วมกันในระดับกลุ่มย่อย หรือทั้งห้อง 2) การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เพื่อถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน
1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการท างานตามบทบาทของแต่ละคนภายในห้องเรียน 2) ประเมินพฤติกรรมนิสัยวิธีการทำงานของแต่ละคนจากนักศึกษาด้วยกันเอง 3) ประเมินจากความรับผิดชอบต่อการทำงาน และการมีน้ำใจต่อเพื่อนในห้อง
5.1.1  สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

 
5.2.1   มอบหมายให้ทำรายงานวิเคราะห์มีประสบการณ์ในการค้นคว้า
5.2.2   นำเสนองานผลงาน ที่ได้วิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล
 
- ประเมินจากการเลือกใช้งานระบบและอุปกรณ์และวิธีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานอย่างเป็นขั้นตอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 1 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT310 งานระบบและอุปกรณ์อาคาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม อาจารย์ที่ปรึกษา 8 10%
2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ การสอบ 9 25%
3 ทักษะทางปัญญา การสอบ 17 25%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ รายงานกลุ่ม 16 20%
5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน 8 และ 16 20%
           Kecha Thirakomen ,And Tamanoon Chantavorn “ Building Tecnology” EEC Academy
           1. Architectural Institute of Japan, “Architecture for a Sustainable Future: All about the Holistic Approach in Japan,”Institute for Building Environment and Energy Conservation,2005.            2. BioRegional, ”BedZED homepage,” available at http://www.bioregional.com/programme_projects/ecohous_prog/bedzed/bedzed_hpg.htm, 2007.            3. Guy, B., Ciarimboli, N., “DfD Design for Disassembly in the Built Environment: A Guide to Closed-loop Design and Building. Electronic Format Available at http://www.lifecyclebuilding.org/resources/DfDseattle.pdf, 2007.            4. International Standard Organization, “ISO 14040. Environmental Management - Life Cycle Assessment -Principles and Framework,” 1997.            5. Intrachooto, S. and Horayangkura, V., “Energy EfficientInnovation: Overcoming Financial Barriers,” Building and Environment 42, 2007. pp. 599-604.            6. Korber, A., “Summary Conclusions and Recommendations DfD Case Study Home: 71 Boulevard, Atlanta, GA 30312.,”CHRC Design Build Studio & Brad Guy, Hamer Center atPSU, 2006.            7. Malakul, P. et. al., “National LCI Database Development in Thailand,” Proceeding of Capacity Building on Life Cycle Assessment in APEC Economy, Bangkok Thailand, 15-16 December 2005.        8. Roodman, D. M. and Lenssen, N., “Worldwatch Paper 124: A Building Revolution: How Ecology and Health Concerns are Transforming Construction,” Worldwatch Institute, 1995.            9. USGBC,” USGBC” Powerpoint Presentation, Available at :http://www.usgbc.org, 2007.            10. World Wildlife Fund, Global Footprint Network and Kadoorie Farm and Botanical Garden, ”Asia-Pacific 2005 The Ecological Footprint and Natural Wealth,” World Wildlife Fund for Nature, 2005.            11. World Wildlife Fund, Global Footprint Network and Zoological Society of London, ”Living Planet Report 2006,” World Wildlife Fund, 2006.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การค้นคว้าในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม และผลงานการฝึกปฏิบัติการเขียนแบบของนักศึกษ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ