วิศวกรรมความปลอดภัย

Safety Engineering

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ ออกแบบ วิเคราะห์และควบคุมความ   เสี่ยงภัยในพื้นที่ทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม การประกันอุบัติเหตุ การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในอุบัติเหตุ  การป้องกันอุบัติเหตุ  การจัดตั้งองค์กร ของทางวิศวกรรม อันเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง   และการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ ออกแบบ วิเคราะห์และควบคุมความ   เสี่ยงภัยในพื้นที่ทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม การประกันอุบัติเหตุ การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.1 ผลการเรียนรู้ เมื่อนักศึกษาเรียนสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะดังนี้
                  1.1.1.1  มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา
                    1.1.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้
                 1.1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.1 บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2 อภิปรายกลุ่มและให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ  วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน  สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม  การประกันอุบัติเหตุ  การสอบสวนอุบัติเหตุ  การประเมินความเสี่ยง  ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย  การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม  หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
บรรยาย  อภิปราย  นำเสนอรายงาน   
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
งานที่มอบหมายเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มอบหมายรายงานเป็นกลุ่ม
งานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย การทํางานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลัก ทฤษฎีแต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติการใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสําคัญมากในการทํางาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จําเป็นยิ่งในการ พัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมอุตสาหการ ดังนั้นในการเรียนการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ได้ครอบคลุมความรับผิดชอบรองคือ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
มอบหมายกิจกรรมกลุ่ม กรณีศึกษา
1. สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกัน 2. ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.3 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 ENGIE118 วิศวกรรมความปลอดภัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา เช็คชื่อ ความตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับอย่างต่อเนื่อง ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 แบบฝึกหัด ผลรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 3-16 20%
3 2.1-2.3 3.1-3.3 4.4 5.2 5.3 สอบกลางภาค ปลายภาค 8 และ 17 70%
จิตรา รู้กิจการพานิช. วิศวกรรมความปลอดภัยสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 2561. วิฑูรย์ สิมะโชคดี และวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์.วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ. 2543.
พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 พรบ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ทยา  อยู่สุข. อาชีวอนามัยความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม. ภาควิชาอาชีวอนามัยความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2542
นักศึกษาประเมินผู้สอนผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอนทบทวนผลการประเมินการสอน 
นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอนมาปรับปรุงรายวิชา
พิจารณาจากผลงาน คะแนน
ทบทวนนำเสนอใน มคอ.5