วัสดุวิศวกรรม

Engineering Materials

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้ วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก ยางมะตอย ไม้  คอนกรีต เซรามิค และวัสดุ เชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัสดุวิศวกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีวัสดุวิศวกรรม   
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้ วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก ยางมะตอย ไม้  คอนกรีต เซรามิค และวัสดุ เชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัสดุวิศวกรรม  เช่น การใช้วัสดุไม่เหมาะสมกับงานจนทำให้เกิดความเสียหายกับตัวงานส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินผู้ใช้งาน 1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาอภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้ วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก ยางมะตอย ไม้  คอนกรีต เซรามิค และวัสดุ เชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
บรรยาย อภิปราย และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอเป็นกลุ่ม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล 
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของความรู้และเทคโนโลยี
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลจากการทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่ม เกี่ยวกับเทคโนโลยีวัสดุ
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และสมาชิกด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1  ส่งเสริมทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3  พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลจาก web site
5.1.4  พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก web site สื่อการสอน E- Learning และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2  มอบหมายงานที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.3.1  ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมายที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-8.5 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 15-16 20
         มานพ  ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ :
บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989) จำกัด, 2536
         ชาญวุฒิ  ตั้งจิตวิทยา  และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ์. วัสดุในงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2521
         มานพ  ตัณตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-
ญี่ปุ่น), 2531
         ณรงค์ศักด์  ธรรมโชติ. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2551
           วีระพันธ์  สิทธิพงศ์. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร ภาค 2. โรงพิมพ์นิยมวิทยา, 2533
         Callister, Jr. W.D. Materials Science and Engineering: An Introduction. 6th Edition. John Wiley & Sons, New York, USA., 2003
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์