เครื่องมือทุ่นแรงก่อนการเก็บเกี่ยว

Pre-Harvest Machinery

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การซ่อมแซมบำรุงรักษาและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ของเครื่องจักรกลในไร่นาสำหรับการเตรียมดิน การปลูกพืช การควบคุมวัชพืช การใส่ปุ๋ย และการฉีดพ่นสารทางการเกษตร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการซ่อมแซมบำรุงรักษาและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ของเครื่องจักรกลในไร่นาสำหรับการเตรียมดิน การปลูกพืช การควบคุมวัชพืช การใส่ปุ๋ย และการฉีดพ่นสารทางการเกษตร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงาน การซ่อมแซมบำรุงรักษาและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ของเครื่องจักรกลในไร่นาสำหรับการเตรียมดิน การปลูกพืช การควบคุมวัชพืช การใส่ปุ๋ย และการฉีดพ่นสารทางการเกษตร
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
  1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
  1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
  1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
  1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ
11. การสอนแบบบรรยาย
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ
8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
1. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
˜ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜ 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
2. การสอนในห้องปฏิบัติการ
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
ทดสอบปฏิบัติงานในพื้นที่
ทดสอบการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 1 3 1
1 BSCFM115 เครื่องมือทุ่นแรงก่อนการเก็บเกี่ยว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,3.1. สอบกลางภาค สอบปลายภาคปฏิบัติปลายภาคโดยประเมินแต่ละหัวข้อในการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ 7 และ 17 30% และ 30%
2 3.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ทำการสอบปฏิบัติแต่ละบทปฏิบัติการ โดยการทดสอบทีละกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 3.1,1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน และให้นักศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการสีข้าว ว่าควรทำอย่างไรจึงจะมีประสิทธิภาพการสีข้าวสูงสุดและทำ power point นำเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อประเมินให้คะแนน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ประชุม เนตรสืบสาย และพันทิพา อันทิวโรทัย.  2526.  เครื่องทุ่นแรงฟาร์มภาค 1.             ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรบางพูน,ปทุมธานี.102 น.

ประณต กุลประสูติ. 2535. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร (การใช้ การบรอการบำรุงรักษา และการปรับปรุง). กรุงเทพฯ: เอเชียเพรส.          . 2544. แทรกเตอร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.

ประสาร กระดังงา, สุทธิพร เนียมหอม, ไชยยงค์ หาราช, อเนก สุขเจริญและวิเชฐ ศรีชลเพชร.2541. รายงานการทดสอบรถแทรกเตอร์4ล้อเล็ก. ศูนย์เครื่องจักรกลเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ผดุงศักดิ์  วานิชชัง.2532. การทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม. ภาควิชาเกษตร กลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.

รุ่งเรือง กาลศิริศิลป์. 2545. การจัดการเครื่องต้นกำลังและเครื่องจักรกลเกษตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.

วินิต ชินสุวรรณ. 2530. เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการเบื้องต้น. ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประณต กุลประสูตร,แทรกเตอร์,กรุงเทพฯ,หจก.ฟันนี่ พับบลิชชิ่ง,2544

 
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 จากการสังเกตนักศึกษาในการปฏิบัติงานแต่ละครั้งที่ผ่านๆ มา โดยดูจากการตอบคำถามในการสอบปฏิบัติย่อยแต่ละครั้ง แล้วนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงในกระบวนการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ