การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

Object Oriented Programming

1.   วัตถุประสงค์ของรายวิชา   :  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
     - มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี Object Oriented
     - มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของเทคโนโลยี Object Oriented อย่างถูกต้อง
     - สามารถนำเทคโนโลยี Object Oriented ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้
 
 
 
2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:  
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุพื้นฐาน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชามาเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย เพื่อประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษาต่อไป
1.  คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาองค์ประกอบของการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดเชิงวัตถุ เช่น คลาส ออบเจ็กต์ แอตทริ
บิวท์ เมธอด การสืบทอดคุณสมบัติ โพลีมอร์ฟิซึม เป็นต้น ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบน
สภาพแวดล้อมแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนโปรแกรมบนระบบวินโดวส์ การเขียนโปรแกรมบนระบบ
เว็บ เพื่อเรียกใช้งานไลบรารีฟังก์ชันและเอพีไอของภาษาของระบบ โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่
สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยใช้ส่วนติดต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (API)
 
3.  จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล   
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
      3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 
           โทร.  055-298438 ต่อ 1151           
      3.2  e-mail; E-mail.  janyaketwit@rmutl.ac.th  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
 
การสังเกต
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
   4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
   4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
 
การสังเกต
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
   6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
   6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
   6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 4.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.3, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 30%
4 1.3, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน/แบบฝึกหัด 14 10%
5 2.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 30 %
รศ.ศรีบุตร แววเจริญ และ ผศ.ดร.ชนศักดิ์  บ่ายเที่ยง คณิตศาสตร์วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัทวงตะวัน จำกัด. 2544. คณะอาจารย์สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2544. John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice-Hall Inc., 2002.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาแบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน ผลการสอบ

การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ