แหล่งท่องเที่ยวโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และการอนุรักษ์

Historical Tourist Attractions and Conservation

1.1 เพื่อศึกษาความหมาย ความสำคัญของการอนุรักษ์ แนวทางและวิธีการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
1.2 เพื่อศึกษาข้อควรปฏิบัติ ข้อห้าม และข้อแนะนำในการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่สำคัญในประเทศไทย
1.3 เพื่อศึกษามรดกโลกและแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย
1.4 เพื่อศึกษาการบูรณะ กฎหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทั้งในและต่างประเทศ
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาในการเรียนการสอนให้ทันสมัย และเป็นปัจจุบัน และเพื่อให้นักศึกษามีวิชาความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในแหล่งท่องเที่ยวในที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศไทยและสามารถนำความรู้เหล่านี้ไปประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ และนักศึกษามีจิตสำนึกในการรักษาระเบียบกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่าง ๆ ของโบราณสถานถ่ายทอดสู่นักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศไทยรวมถึงวิธีในการอนุรักษ์รักษา
ความหมาย ความสำคัญของการอนุรักษ์ แนวทางและวิธีการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ข้อควรปฏิบัติ ข้อห้าม และข้อแนะนำในการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่สำคัญในประเทศไทย มรดกโลกและแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย การบูรณะ กฎหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทั้งในและต่างประเทศ การศึกษาดูงานในแหล่งท่องเที่ยวโบราณคดีและประวัติศาสตร์
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2.มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
2. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
3. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ
4. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
1. สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
2. ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
3. กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
4. ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
1. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
5. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
2. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
1. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
2. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
3. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
3. การเขียนรายงาน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
3. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
3. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้าน การปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH126 แหล่งท่องเที่ยวโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และการอนุรักษ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
2 1.1,1.2 การมีส่วนร่วมในการแสดงบทบาทสมมุติ 8,13 5%
3 5.1,5.2 การค้นคว้าด้วยตนเอง 1,11 5%
4 1.3,1.4 การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนและสถานที่จริง 7,14,15 15%
5 2.1,2.2 การสอบ 9,17 60%
ศักดิ์ชัย สายสิงห์ 2541 พุทธประติมานวิทยา เอกสารการสอน ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ - คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
สำนักโบราณคดี 2537 โบราณคดีสี่ภาค เอกสารการสอน ภาควิชาโบราณคดี - คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
สำนักโบราณคดี 2540 การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ เอกสารการสอน ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
- พระราชบัญญัติคุ้มครองโบราณสถานและโบราณวัตถุ พ.ศ.2535
- วารสารศิลปวัฒนธรรม
- วารสารศิลปากร
- วารสารดำรงวิชาการ
1.ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนิสิตต่อการพัฒนารายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายภาคของการศึกษา
2.ให้นิสิตประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3.ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านระบบการประเมิน online ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนิสิต ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1. การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
2. การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่
3. ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
1. คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
2. ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
3. คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4. ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
3. ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
4. ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย