ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 3

Practical Skills in Animal Science 3

เพื่อเพิ่มประสบการณ์ตรงจากการฝึกปฏิบัติงานเฉพาะทาง ที่เน้นให้เกิดความรู้ ความชำนาญ ทักษะ  จนกระทั้งเกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการจัดการฟาร์มสัตว์ และการบริหารงานฟาร์ม เพื่อเตรียมพร้อมที่จะฝึกงานสัตวศาสตร์ 4
2.1 เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560
2.2 เพื่อเพิ่มโอกาสให้นักศึกษา นำความรู้ ความชำนาญ ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ที่ได้จากบูรณาการการประยุกต์ความรู้ภาคทฤษฏีเข้ากับการฝึกปฏิบัติจริงเฉพาะทาง ในการจัดการฟาร์มสัตว์ และการบริหารงานฟาร์ม ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ฝึกปฏิบัติงานด้านสัตวศาสตร์เฉพาะทางที่เน้นให้เกิดความรู้ ความชำนาญ และทักษะ จนกระทั่งเกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการวางแผนงาน การสั่งงาน และดำเนินงานฟาร์ม
จัดให้เข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษา ตั้งแต่วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08:00-16:00 น.              
ณ ห้องสำนักงานสัตวศาสตร์และประมง โทร.  054-342 547-8 ต่อ  272
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 1.1.1 1.1.2  และ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดหลักเกณฑ์ หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติ เช่น การตรงเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาประกอบ ในการนำเสนองานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติติแก่เจ้าของงานนั้น
- เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
1. ประเมินจากการพฤติกรรม และการแสดงออกในระยะเวลาการปฏิบัติงาน  การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด  และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
2. ไม่มีการลอกรายงาน
3. เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ  2.1.1 2.1.2 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
-  การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
- นำหลักทฤษฎีไปใช้ในการคิดพัฒนา การจัดการฟาร์ม แก้ปัญหางานในฟาร์ม
- มีสื่อการสอนต่างๆ เช่น ภาพประกอบทั้งภาพนิ่ง และคลิปวิดีโอ เป็นต้น
- มอบหมายให้ สืบค้น การศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต วารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง   เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม      โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น
1. ประเมินจากผลงาน และรายงานการบันทึก 2. นำเสนองาน ในรูป power point เมื่อสิ้นสุดระยะการฝึกปฏิบัติงาน
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างมีระบบ
ข้อ  3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  3.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
- การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)  การวางแผน การจัดการ เพื่อให้นักศึกษาเชื่อมโยงทฤษฎีให้สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติ 
                     - แสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว นักศึกษาจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
การนำเสนองาน ในรูป power point เมื่อสิ้นสุดระยะการฝึกปฏิบัติงาน
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ  4.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  4.1.1  4.1.3 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
 - เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
          - การมอบหมายโจทย์ปัญหา หรือกรณีศึกษา
          - มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม 
                     -  แนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน
- การปฏิสัมพันธ์กับบุคคลในระดับต่าง ๆ ของแผนกงานฟาร์ม
- การร่วมนำเสนองาน ในรูป powerpoint เมื่อสิ้นสุดระยะการฝึกปฏิบัติงาน
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา
                              อย่างเหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ  5.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  5.1.1 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดนำเสนอข้อมูลรวม ทั้งการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การใช้ PowerPoint ประกอบการนำเสนองาน หลังสิ้นสุดการฝึกปฏิบัติงาน   
     - เลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ โดยเน้นการนำ ตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- ประเมินจากการนำเสนองาน ว่ามีการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม และถูกต้อง
    6.1.1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
    6.1.2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
    6.1.3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ข้อ 6.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 6.1.1 และ 6.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- การมอบหมายให้ฝึกแก้โจทย์ปัญหาการปฏิบัติงาน และกำหนดให้นำเสนอ ผลการแก้ปัญหา
- ประเมินผลการปฏิบัติงาน วิธีการแก้ไขปัญหางาน รายงานการฝึกงาน โดยอาจารย์ประจำแผนกงานฟาร์ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา จิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทนตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG213 ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 นำเสนองานเป็นกลุ่ม พฤติกรรมต่างๆ เช่น ความสนใจ การซักถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 5%
3 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.3 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 5%
4 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ผลการปฏิบัติงาน ทุกสัปดาห์ 80%
- คู่มือการปฏิบัติงานของแต่ละงานทักษะเฉพาะทาง  กรณีศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ
- สมุดบันทึกทักษะวิชาชีพ 3
ตัวอย่างกรณีศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ www.dld.go.th
ตัวอย่างกรณีศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ www.dld.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอน และผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ผลการทดสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยใน และนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - ใช้อาจารย์ผู้สอนหลายคน (teaching group) เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ที่กว้างขึ้น