การบัญชีบริหาร

Managerial Accounting

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการทางบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินใน ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับ“สินทรัพย์”
2. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์รายการ การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ ตามหลักทางบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินในปัจจุบัน
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำหลักการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ไปใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับการบัญชีสินทรัพย์ได้
4. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ การจำแนกประเภทสินทรัพย์ การรับรู้ การวัดมูลค่าสินทรัพย์ การด้อยค่าของสินทรัพย์ ตลอดจนการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วย เงินสด การจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ระบบใบสำคัญ ลูกหนี้และตั๋วเงินรับรวมทั้งการจัดหาเงินโดยใช้บัญชีลูกหนี้และตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ต้นทุนการกู้ยืม การจัดแบ่งส่วนสินทรัพย์เป็นต้นทุนและค่าใช้จ่าย ทรัพยากรธรรมชาติและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
6 ชั่วโมง
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการเรียนในห้องเรียน การทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม
1) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษาและให้คะแนน 10%
2) ผู้สอนประเมินผลการนำเสนอผลการนำเสนอผลงานที่มอบหมายเป็นกลุ่ม 5% และ
นักศึกษาทุกคนมีส่วนในการประเมินผลการนำเสนอผลงาน ให้คะแนน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบในชั้นเรียน
2) การฝึกหัดแก้ไขโจทย์ปัญหา
ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงานและการค้นคว้า

การประเมินจากการสอบข้อเขียน และ การสอบปฏิบัติ
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1) ทำงานกลุ่ม โดยกำหนดหัวข้อให้
2) ให้นักศึกษาจัดทำสื่อประกอบรายงาน และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
4.1 สามารถปฎิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
· มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน
· มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา
ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน

สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อการติดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟ้งที่แตกต่างกัน 5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
ให้อภิปราย และนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้น หน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มอบหมายกรณีศึกษาที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทาง ปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4.1 สามารถปฎิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อการติดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟ้งที่แตกต่างกัน 5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
1 BACAC132 การบัญชีบริหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 4.1  ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด การร่วมกิจกรรมในห้องเรียน  ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ ประเมินจากความรับผิดชอบ`ในการส่งการบ้าน 1 ถึง 10 ตลอดภาคการศึกษา
2 2.1, 3.1  ประเมินจากงานที่มอบหมาย จากแบบฝึกหัดข้อที่มีความซับซ้อนต้องใช้การวิเคราะห์  การทดสอบย่อย  ประเมินจากการสอบข้อเขียน และ การสอบปฏิบัติ โดยแบบทดสอบ จะมีทั้งส่วนทฤษฏี โจทย์ปัญหาสั้น ๆ และกรณีศึกษา จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ซึ่งจะวัดระดับการเรียนรู้ (Cognitive Domain) ด้านความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ และการวิเคราะห์ ตลอดภาคการศึกษา ทดสอบในบทเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 5% 15% 25% 25%
3 2.4  ประเมินจาก รายงานและการค้นคว้า และการให้สรุปประเด็นที่สำคัญของเนื้อหาในชั้นเรียน เกี่ยวกับกรณีศึกษา สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 12 20%
4 3.3, 4.1, 5.2  ประเมินจากรายงานการค้นคว้า และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน การอภิปรายแสดงความคิดเห็น  ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม สังเกตการพฤติกรรมการทำงานกลุ่มในชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1 10%
การบัญชีบริหาร โดย ผศ.สุปราณี ศุกระเศรณี, ผศ.ศุภสิน สุริยะ, ผศ.อำนาจ รัตนสุวรรณ, ธีรเสฏฐ์ ศิรธนานนท์
การบัญชีบริหาร โดย อาจารย์นวพร บุศสุนทรและคณะ
เวปไซด์ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.fap.or.th
เวปไซด์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th
เวปไซด์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.thailandaccount.com
ใช้แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัย
ใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษา เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์จากการเรียนในรายวิชา
 
นำผลคะแนนของนักศึกษา และ ผลการประเมินผลการสอนของอาจารย์จากนักศึกษา ประชุมร่วมกันระหว่างผู้สอน คณะกรรมการหลักสูตร เพื่อประเมินผลการสอนในภาพรวม
วิเคราะห์ข้อมูลจาก สรุปผลจากรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5) และแบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา โดยผู้สอนจะนำเอาข้อมูลทั้ง 2 ประเด็นทบทวนและปรับปรุงแนวทางการสอนเพื่อให้บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และวัตถุประสงค์ของรายวิชา
การทวนสอบในระดับรายวิชา จะประเมินผลการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ พิจารณา ความเหมาะสมของโครงสร้างคะแนน ความตรงประเด็นของการออกข้อสอบกับผลการเรียนรู้ของรายวิชา การวัดผลและการให้คะแนน แนวโน้มของระดับคะแนนของนักศึกษา
การประเมินผลจะดำเนินการโดยคณะกรรมการทวนสอบของสาขาวิชา จากผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมกับคณาจารย์ภายในสาขาที่ได้รับการแต่งตั้ง อย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี
นำผลการประเมินจากข้อ 1 ข้อ 3 และ ข้อ 4 มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา