การจัดการธุรกิจขนาดย่อม

Small Business Management

รู้เข้าใจเกี่ยวกับชนิด ประเภท และรูปแบบการดาเนินงานของธุรกิจขนาดย่อม การวางแผน ธุรกิจ แผนการตลาด การจัดการในระบบธุรกิจ การแก้ไขปัญหาและข้อจากัดที่มีผลต่อการประกอบ ธุรกิจขนาดย่อมของวิชาชีพต่างๆ ของคณะ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดย่อม เป็นการเตรียมความพร้อมด้าน ปัญหาในการนาความรู้ ความเข้าใจ ในการแก้ไขปัญหาและข้อจากัดที่มีผลต่อการประกอบธุรกิจขนาดย่อม ของวิชาชีพต่างๆ ของคณะ ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต, หลักสูตร ศิลปบัณฑิต
ศึกษาเกี่ยวกับชนิด ประเภท และรูปแบบการดาเนินงานของธุรกิจขนาดย่อม การวางแผน ธุรกิจ แผนการตลาด การจัดการในระบบธุรกิจ การแก้ไขปัญหาและข้อจากัดที่มีผลต่อการประกอบธุรกิจ ขนาดย่อมของวิชาชีพต่างๆ ของคณะ
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาภายในชั้นเรียน - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมฝึกให้นักศึกษารู้หน้าที่และความรับผิดชอบ
พฤติกรรมการเข้าเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามความรับผิดชอบ และตรงต่อเวลา
มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
บรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติพร้อมยกตัวอย่างในรายวิชา
สอบกลางภาคสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานในห้องเรียน จัดทาโครงงานที่ให้วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การอภิปรายกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 สอดแทรกการสอนให้สามารถปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงานในองค์กรและบุคคลทั่วไป
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม 4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย รวมทั้งกิจกรรมต่างๆในรายวิชา
5.1.1 สามารถสืบส้นศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและสามารถประยุกต์รูปแบบและเทคโนโลยีที่ เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน ผลงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของเพื่อน อาจารย์ได้อย่างเหมาะสม มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีได้ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างดี มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ หาข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีมนุษย์สัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดีและมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 40000008 การจัดการธุรกิจขนาดย่อม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 60%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การจัดทำรายงานและแผนธุรกิจนำเสนอ ผลงาน ตลอดภาค การศึกษา 30
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาค การศึกษา 10
            เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาไว้ดังนี้
            1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
            2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
            2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา             2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
            1.1 ประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน
            1.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
            4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
            4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
            5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4
            5.2 เปลี่ยนหรือสลบั อาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์