เขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Industrial Product Drafting

รู้หลักและเกณฑ์ตามมาตรฐานสากลในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  เข้าใจการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ตามมาตรฐานสากลในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ตามหลักและเกณฑ์มาตรฐานสากลได้ถูกต้อง มีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน เห็นคุณค่าของการ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน
ให้นักศึกษารู้วิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษามีทักษะในการเขียนแบบรูปร่างและรูปทรงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การเขียนแบบโครงสร้างสำหรับงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การเขียนภาพคลี่ การเขียนแบบเพื่อการผลิต การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน ปฏิบัติงานเขียนแบบและใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเขียนแบบ
แล้วแต่ปัญหารายบุคคล เฉลี่ย 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม                                
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น                
3. มีจิตอาสา จิตส านึกสาธารณะ
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ                               
3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม                                
4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ  ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา    
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้  -    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง                                
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ                               
3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม                                
4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ  ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 
1.  ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง  2.  วิธีการสอน สอนโดยการบรรยายประกอบสื่อการสอนประกอบตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียน       เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้  3.  เผยแพร่เอกสารการสอน มอบหมายงาน และส่งงานผ่านทาง Google Classroom 
4. ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนผ่าน กลุ่มใน Facebook
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้  -    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30%
     ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%   และจากการสอบ 30%   จิตพิสัย 10%
1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่    หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน                                  
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง   สร้างสรรค์                                
3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ  และวิชาชีพได้                               
4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน         
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา การประยุกต์ใช้คำสั่งในการเขียนแบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์ได้
จากงานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน และจากการทดสอบในชั้นเรียน และการสอบกลางภาค และปลายภาคเรียน
- ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%   และจากการสอบ 30%   จิตพิสัย 10%
 
1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ทีดี                                   
2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                 
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1.ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น  2. ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน   โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้  3. ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้ 

-    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป    ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                   
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                 
3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
-  ฝึกการค้นคว้าข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ IT.  -  ฝึกทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การส่งข้อมูลทาง E-MAIL.
             -   ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์               -   ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                   
2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                 
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
นักศึกษาจะมีทักษะด้านการเขียนแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตามหลักการเขียนแบบอย่างมีระบบ และมีคุณภาพ 
             -   ตรวจการเสนอโครงการย่อย               -   ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์               -   ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธุ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศน์ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID111 เขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กำหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมิน และสัดส่วนของการประเมิน การประเมินผลนักศึกษามีคะแนนรวม 100% โดยจำแนกคะแนนดังนี้ คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-55 ได้ ง หรือ D ต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้ จ หรือ F - ประเมินงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติทุกสัปดาห์ - ประเมินจากผลการสอบ สอบกลางภาค และปลายภาค - ประเมินจิตพิสัยหลังการสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30 % ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30 % การทดสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 30% จิตพิสัย 10%
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  • ให้อาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาแจ้งผู้รับผิดชอบรายวิชา ในกรณีที่เกิดปัญหาของผู้เรียน    เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชานี้  • ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามที่ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
การสังเกตการณ์การเรียนรู้  • แบบทดสอบย่อยในชั้นเรียนเมื่อจบบทเรียน  • ผลการทำโครงการฯ
-ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประเมินการสอนและผลการประเมิน    ประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 
• ปรึกษาและสรุปทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน 
• สัมมนาการจัดการเรียนการสอนในระดับภาควิชา ร่วมกับผู้รับผิดชอบรายวิชา    และผู้สอนในกลุ่มวิชาหลักสาขา 
• วางแผนและดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  แก้ไข
• ในระหว่างกระบวนการสอน มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ โดยการ    สอบถามจากนักศึกษา อาจารย์ผู้สอน และแบบทดสอบย่อยในชั้นเรียน 
• เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา มีการสนทนาแลกเปลี่ยน    ข้อมูลระหว่างกลุ่มอาจารย์ผู้สอน และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการใน    สาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบผลงาน    วิธีการให้คะแนน และพฤติกรรมในการเรียนรู้และส่งงาน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ควรมีการปรับปรุงรายละเอียดย่อยของรายวิชา  ตามผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนเป็นรายปี และปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ  (จากผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนและจากนักศึกษา)  และผลการทวนสอบมาตรฐานสัมฤทธิ์