ออกแบบอุตสาหกรรมเบื้องต้น

Introduction to Industrial Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ รวมทั้งมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สมัยใหม่ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ประจำตัวและสาขาวิชาฯ อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ตามความต้องการ 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลและแนวคิดของผู้อื่น ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ลอกเลียนแบบ ลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
l (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
¡ (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
(3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดาเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
¡ (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
อย่างเป็นระบบ
¡ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
l (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายและยกตัวอย่างผลงานออกแบบของไทยและต่างชาติ ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการศึกษาบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมจากสถานที่จริง
1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
2. ประเมินผลงานปฏิบัติและกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
3. สอบกลางภาคและปลายภาค
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมิลข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์
l (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ วิชาชีพได้
¡ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1. บรรยายและยกตัวอย่างโดยใช้สื่อประกอบ
2. ปฏิบัติงานเดี่ยว
3. นำเสนอผลงาน พร้อมวิจารณ์และแนะนำ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนองาน
¡ (1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
l (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทาหน้าที่ผู้นาและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากความเอาใจใส่และมีส่วนร่วมในผลงานเดี่ยวและกลุ่ม
l (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
¡ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนาเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความสมบูรณ์และถูกต้องของผลงาน ความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.3.1 ,2.3.1 ,3.3.1 ,2.3.1 - ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 - สอบกลางภาคเรียน - ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 - สอบปลายภาคเรียน 5,9,13,16 35%
2 2.3.2 ,1.1.2 - ปฎิบัติงานออกแบบ เขียนแบบรายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1.2 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.3.5 -ประเมินผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ และการจัดทารายงานสรุป ตลอดภาคการศึกษา 5%
ชลธิศ ดาราวงษ์. การจัดการผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส. 2558
นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. โอเดียนสโตร์. 2549
วัชรินทรื จรุงจิตสุนทร. หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: iDESIGN Publishing. 2550
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์. 2550
สาคร คันธโชติ.วัสดุผลิตภัณฑ์. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการ.ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(โรเนียว). 2523
อานวย คอวนิช. อุตสาหกรรมไม้ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2523
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบออนไลน์
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านห้องเรียนออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 แต่งตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้   2.4 จัดทำรายงานสรุปผลรายบุคคลหลังจากการเรียนออนไลน์
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย