ชีวเคมีทางการเกษตร

Biochemistry for Agriculture

ด้านทฤษฎี
          1.1 เข้าใจองค์ประกอบและกิจกรรมของเซลล์
                1.2 เข้าใจเกี่ยวกับสารชีวโมเลกุล และเมทาโบลิซึมของสารชีวโมเลกุล
          1.3 เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม
          1.4 เข้าใจกระบวนการควบคุมเมทาโบลิซึมด้วยฮอร์โมนในพืช และสัตว์
          1.5 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาชีวเคมี
          1.6 ประยุกต์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
 
ด้านปฏิบัติ
           1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคนิคต่างๆ ทางชีวเคมี
           1.2 มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
           1.3 มีทักษะเกี่ยวกับการแยกสารชีวโมเลกุล
           1.5 พัฒนาทักษะและจิตพิสัย ในการปฏิบัติงานด้านการทดลองอย่างเป็นระบบ
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการปฏิบัติการทางชีวเคมีทางการเกษตร
 
           ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ เมแทบอลิสมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก การถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม ฮอร์โมนที่ควบคุมเมแทบอลิสมในคน พืชและสัตว์ และฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆ ทางเคมี เพื่อใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
      ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลโดยตรงและผ่านทางระบบการสื่อสารออนไลน์ต่างๆ 
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) ชี้แจงและตกลงเกณฑ์ต่างๆ และวิธีการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก
2) อธิบายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
3) ให้งานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้และสามารถนำไปบูรณาการได้
4) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
5) ใช้สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายเพื่อเป็นการรพัฒนาการเรียนของผู้เรียนให้ดีขึ้น
1) ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายและตรงเวลา
2) ประเมินผลวัดความรู้จากการสอบ
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและเชิงปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
2) สามารถนำองค์ความรู้มาบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ได้อย่างดี
1) บรรยายและการใช้สื่อการสอนชนิดต่างๆ อย่างเหมาะสม
2) การซักถามในบทเรียนรวมทั้งร่วมกันอภิปราย 
3) ยกตัวอย่างเป็นกรณีศึกษาเพื่อใช้ในการอธิบาย
4) มอบหมายงาน 
5) ฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลอง และฝึกให้ผู้เรียนสามารถสรุปผลการทดลองโดยใช้เหตุผลอธิบาย
1) ประเมินผลจากคะแนนว้ดผลสอบรายหน่วบ กลางภาคและปลายภาค
2) ประเมินจากการมีส่วนร่วมทำปฏิบัติการทดลอง และการส่งงาน
3) ประเมินจากการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1) การประยุกต์ความรู้ที่ได้สู่งานวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดอย่างเป็นระบบและแบบแผน
1) บรรยายและอภิปราย
2) ยกกรณีศึกษา
3) แบ่งกลุ่ม นำเสนองานมอบหมาย
                   1) สอบรายหน่วย กลางภาคและปลายภาค 
                   2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
                3) ประเมินจากความถูกต้องของรายงานผลการทดลอง และงานมอบหมายอื่นๆ
                  
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 
1) มอบหมายงานกลุ่มและกําหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทํางานกลุ่มอย่างชัดเจน
2) จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนเพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และบุคคลภายนอก
1) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ปรากฎ
2) พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
3) สามารถติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยใช้สื่อการสอนชนิดต่างๆ หรือสื่อออนไลน์อย่างเหมาะสม
2) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
คุณภาพการนำเสนอ และทำรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1 BSCCC111 ชีวเคมีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - สอบรายหน่วย -สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 5,9,13,17 50
2 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - ทดสอบย่อย - การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงานที่มีการสืบค้นอย่างถูกต้อง - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 1.3 2.1 3.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
ผศ.ดร.สุพักตร์ พ่วงบางโพ และคณะ, คู่มือการสอนชีวเคมี, ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2541 รศ.เรืองลักขณา  จามิกรณ์ , ชีวเคมีเบื้องต้น, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2534 รศ.เรืองลักขณา  จามิกรณ์ , ชีวเคมีเบื้องต้น, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2535 รศ.รัชนี ตัณฑะพานิชกุล, เคมีอาหาร, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พิมพ์ครั้งที่ 5, 2535 ผศ.ดร.หทัยชนก เนียมทรัพย์, ชีวเคมี 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547 ชีวเคมีพื้นฐาน, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2535 มนตรี จุฬาวัฒนทล และคณะ , ชีวเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2543 รัชฎา แก่นสาร์, ชีวเคมี, โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2544 พจน์ ศรีบุญลือ, โสพิศ วงศ์ดำ, พัชรี บุญศิริ, ตำราชีวเคมี, ภาควิชาเคมี คณะแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2543 รศ.ดร.ประเสริฐ ศรีไพโรจน์, ชีวเคมี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2544 รศ.ดร.ประดิษฐ์ มีสุข, ชีวเคมีเบื้องต้น (เคมีชีวิต), มหาวิทยาลัยทักษิณ, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2547 สุกัญญา สุนทรส และวิเชียร ริมพณิชยกิจ, ชีวโมเลกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2547 รศ.ดร.อาภัสสรา ชมิดท์, ชีวเคมี, ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2543 Lodish and etc, Molecular Cell Biology,  W.H.Freeman and Company, Fourth Edition, America, 1999 Lorraine Buckberry and Paul Teesdale, Essentials of Biological chemistry, John Wiley & Sons, Ltd., England, 2001 Campbell and Farrell, Biochemistry, Fourth Edition, 2003 Mary K. Campbell and Shawn O. Farrell  “Biochemistry” Fourth edition, USA, 2003 p. 97 Trudy McKee and James R. McKee “Biochemistry: the molecular basic of life” Third edition, New York, 2003 โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. “ชีววิทยา 3” บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2547
-
สุพักตร์ พ่วงบางโพ และคณะ, คู่มือการสอนชีวเคมี, ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2541
เรืองลักขณา  จามิกรณ์ , ชีวเคมีเบื้องต้น, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2535
รัชนี ตัณฑะพานิชกุล, เคมีอาหาร, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พิมพ์ครั้งที่ 5, 2535
หทัยชนก เนียมทรัพย์, ชีวเคมี 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547
ชีวเคมีพื้นฐาน, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2535
มนตรี จุฬาวัฒนทล และคณะ , ชีวเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2543
รัชฎา แก่นสาร์, ชีวเคมี, โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2544
พจน์ ศรีบุญลือ, โสพิศ วงศ์ดำ, พัชรี บุญศิริ, ตำราชีวเคมี, ภาควิชาเคมี คณะแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2543
ประเสริฐ ศรีไพโรจน์, ชีวเคมี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2544
ประดิษฐ์ มีสุข, ชีวเคมีเบื้องต้น (เคมีชีวิต), มหาวิทยาลัยทักษิณ, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2547
สุกัญญา สุนทรส และวิเชียร ริมพณิชยกิจ, ชีวโมเลกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2547
อาภัสสรา ชมิดท์, ชีวเคมี, ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2543
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จัดทำโดยนักศึกษา ได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอนเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4