อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์

Electronic Circuits and Devices

เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับวงจรแหล่งจ่ายไฟ เพื่อศึกษาการให้ไบอัส BJT และ FET เพื่อศึกษาวงจรสมมูลของ BJT และ FET เพื่อศึกษาวงจรขยายสัญญาณภาคเดียว เพื่อศึกษาวงจรขยายสัญญาณ หลายภาค เพื่อศึกษาวงจรขยายป้อนกลับ เพื่อศึกษาวงจรขยายกำลัง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับวงจรแหล่งจ่ายไฟ การให้ไบอัส BJT และ FET วงจรสมมูลของ BJT และ FET วงจรขยายสัญญาณภาคเดียว วงจรขยายสัญญาณหลายภาค วงจรขยายป้อนกลับ วงจรขยายกาลัง
       Study and practice of power supply circuit, BJT and FET biasing, BJT and FET modeling, single stage amplifier circuit, multi-stage amplifier circuit, feedback amplifier circuit, power amplifier circuit.
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ที่บอร์ดหน้าห้องพัก อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(รอง 2)
1.) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
สอดแทรกในการบรรยาย การเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานที่มอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ปริมาณการทุจริตในการสอบ ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
(หลัก 2/รอง 1)
1.) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่ส าคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
(รอง 1, 3, 5)
1.) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2.) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการ ใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆคิด อย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ซักถามจากกรณีตัวอย่างโจทย์
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากการทำข้อสอบ หรือปัญหาการบ้าน
 
(รอง 4)
1.) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและ ผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
(รอง 1, 2, 5)
1.) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
2.) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
3.) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ ในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
(หลัก 1/รอง 2)
1.) มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบ ควบคุมอัติโนมัติพื้นฐานได้เป็นอย่างดีมีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
2.) สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทำงานทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบควบคุมอัติโนมัติได้ดี
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 2 1 1 3 5 4 1 2 5 1 2
1 ENGEL108 อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม โดยการสังเกต ทุกครั้ง 10%
2 ทักษะพิสัย และ ความรู้ ตรวจสอบจากการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ ทุกครั้ง 25%
3 ทักษะทางปัญญา การสอบ สอบกลางภาคและปลายภาค 50%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ และ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบรายงานกลุ่มและการจดบันทึกการทดลองในห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ 14 15%
1.) “Electronic Devices Conventional Current Version”, Thomas L. Floyd, Pearson Education Limited, England, 2014.
2.) “อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์”, นภัทร วัจนเทพินทร์, พิมพ์ครั้งที่ 6 ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์, 2551.
3.) “หนังสือชุดฝึกด้านแอนะล็อก One the all”, ทวีศักดิ์ สุขเจริญทรัพย์, เอกสารประกอบการทดลอง โดย ThaiEasyElec มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, กรุงเทพฯ
1.) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน
2.) แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและประมวลผล
1.) ผลการเรียนของนักศึกษา ผลการสอบ
2.) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1) การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ  ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2) มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1) ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2) เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ