ระบบไฟฟ้าลากจูงระบบรถราง

Railway Traction System

           เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานระบบไฟฟ้าสำหรับจ่ายรถไฟ

รู้คุณลักษณะพื้นฐานทางฟิสิกส์ของการลากจูง เข้าใจภาพรวมของระบบไฟฟ้าลากจูงรถไฟ เข้าใจทฤษฎีและหลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้าสำหรับระบบลากจูงรถไฟ เข้าใจหลักการขับเคลื่อนรถไฟฟ้า เข้าใจหลักการเบรคของรถไฟฟ้า เข้าใจเทคโนโลยีรถไฟที่ใช้พลังงานแม่เหล็กสำหรับการขับเคลื่อนและระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถไฟฟ้า เห็นความสำคัญของวิชานี้ที่มีต่อวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้า
เพื่อให้รายวิชาระบบไฟฟ้าลากจูงระบบรถราง มีความทันสมัย และ เข้ากับสถานการณ์ในประเทศไทย ที่ปัจจุบันระบบรางได้เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญในการขับเคลื่อนเมืองหลวง อย่างกรุงเทพมหานคร  นอกจากนี้ในอนาคตอันใกล้หัวเมืองใหญ่ในเขตภูมิภาคก็กำลังมีโครงการสร้างระบบรถรางเพื่อใช้เป็นระบบขนส่งสาธารณะของเมืองอีกด้วย
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานระบบไฟฟ้าสำหรับจ่ายรถไฟ ภาพรวมของระบบไฟฟ้าลากจูงรถไฟ ฟิสิกส์พื้นฐานของการลากจูง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงและมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบการขับเคลื่อนควบคคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงและมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรแปลงผันกำลังไฟฟ้า การมอดูเลทด้วยความกว้างของพัลส์ ระบบการเบรคทางกล ระบบการเบรคด้วยไดนามิคและรีเจนเนอเรทีฟ เทคโนโลยีรถไฟที่ใช้พลังงานจากแม่่เหล็กในการเคลื่อนที่ ประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า และ อื่น ๆ เป็นต้น
ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทั้งต่อหน้าและผ่านระบบสื่อออนไลน์ 
การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร และ สังคม
1.การกวดขันเรื่องเวลาเข้าเรียนและการส่งงาน
2.บรรยาย
สังเกตุจากพฤติกรรมการเรียนรู้
หลักการและการทำงานของระบบไฟฟ้าลากจูงของระบบรถราง
บรรยาย
แบบทดสอบ
การออกแบบระบบรถไฟฟ้า
มอบหมายงานให้คิดและออกแบบระบบรถไฟฟ้าในพื้นที่ท้องถิ่นของตัวเองหรือจากกรณีศึกษาอื่น เช่นเวบ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (https://www.mrta.co.th/th/)
 
คุณภาพของงานที่มอบหมายและทักษะการแก้ปัญหา
การทำงานเป็นทีมโดยแบ่งปันเทคนิคการทำงานซึ่งกันและกัน แม้ว่าโครงการที่ได้รับมอบหมายจะต่างพื้นที่ แต่สามารถใช้หลักการทำงานเดียวกันได้
ให้นักศึกษานำข้อมูลโครงการของตัวเอง มาลงมือปฏิบัติการด้วยคอมพิวเตอร์ในห้องคอมพิวเตอร์ของหลักสูตรพร้อมกันทั้งห้องโดยมีผู้สอนคอยให้คำปรึกษา ซึ่งระหว่างเรียน นักศึกษาทั้งห้อง ราว 32 คน จะเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน
สังเกตุ
สมการการเคลื่อนที่ของรถไฟและการจำลองการเดินรถไฟฟ้าขบวนเดียว (single train simulation) สำหรับแต่ละโครงการ
ลงมือปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม MATLAB ด้วยตนเอง
พฤติกรรมการเรียนรู้และผลการจำลอง
ใช้งานโปรแกรม MATLAB เพื่อการจำลองรถไฟฟ้า
บรรยายและลงมือปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง
สังเกตุพฤติกรรมการเรียนรู้และผลการทำงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การตรงต่อเวลา
1 ENGEE138 ระบบไฟฟ้าลากจูงระบบรถราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
หนังสือ "ระบบจ่ายไฟฟ้าสำหรับรถไฟ" ของ รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์
ISBN : 978-616-440-005-4
บทความวิชาการเรื่อง 
"Single Train Movement Modelling and Simulation with Rail Potential Consideration"
งาน 2016 IEEE/SICE International Symposium on System Integration (SII)
Date of Conference: 13-15 Dec. 2016
ประเทศไทยเรามีรถไฟฟ้าให้บริการสาธารณะ เป็นประเทศแรกของเอเชีย เมือวันที่ 11 เมษายน ปี ค.ศ.1893
http://www.tramz.com/tva/th.html
 
 
เครือข่าย
https://www.birmingham.ac.uk/research/railway/index.aspx