นิเวศวิทยาทางน้ำ

Aquatic Ecology

รู้ความเป็นมาของการศึกษานิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ เข้าใจระบบห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร ในระบบนิเวศวิทยาของแหล่งน้ำ ทั้งในน้ำจืด น้ำกร่อย และทะเล เข้าใจกำลังผลิตและปัจจัยที่มีต่อกำลังผลิตในแหล่งน้ำ เข้าใจมลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของแหล่งน้ำ เห็นความสำคัญของการศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ไปเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางด้านนิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ ห่วงโซ่และสายใยอาหารในแหล่งน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อยและทะเล กำลังผลิตของระบบนิเวศในแหล่งน้ำ ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ มลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศวิทยา
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. สาขาวิชาประมง โทร 0862046622
3.2 e-mail;job6942@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีคุณธรรมและ จริยธรรมสาธารณะ 1.2 มีจรรยาบรรณ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย - จะสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา - กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย - นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น - การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด - นักศึกษาต้องรู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
 
วิธีการประเมินผล
- นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา -ความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - การทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกการปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น - ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
 
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
 
การสอนหลากหลายรูปแบบ เน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
 
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน - ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง -ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
 
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ˜ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธ๊การเรียนรู้
 
-บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย -การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูล และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
 
- ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน -การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า -การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 2 มีภาวะความเป็นผู้นำ

š4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ -มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย -สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้ -มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป -มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น -สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองสถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
-ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล -ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย -การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
 
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
-ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างความถูกต้อง -ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า -ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG302 นิเวศวิทยาทางน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 6.1, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5 %
3 3.1, 3.2, การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 15%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 25%
5 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 25 %
- ธีระ เล็กชลยุทธ.2535. นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ.เอกสารเรียบเรียง.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.105 น.
- ประมาณ พรหมสุทธิรักษ์.2531.เอกสารคำสอนวิชาชลธีวิทยา.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.190 น.
- R.S.K. Barnes and K.H. Mann.1991.Fundamental of Aquatic Ecology.The University Press, Cambridge.270 pp.
- Michael Jeffries and Derek Mills.1990. Freshwater Ecology.London. 253 pp.
- Kent W.Thornton,Bruce L,Kimmel Forrest,E. Payne.1991.Reservoir Limnology: Ecological perspectives. U.S.A. 283 pp.
- งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณแพลงก์ตอนในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
-งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณสัตว์หน้าดินในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้

2.2 ผลการสอบ
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง
จากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา พิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ดังนี้
 

การทวนสอบการให้คะแนนจาการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่

ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ
ปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี