ทักษะวิชาชีพประมง 3

Practical Skills in Fisheries 3

เพื่อฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะวิชาชีพทางการประมง โดยสามารถผลิตสัตว์น้ำได้ นำมาซึ่งรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
เพื่อให้มีความทันสมัยของรายวิชาให้ก้าวทันกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ฝึกทักษะวิชาชีพทางการประมงเพื่อสร้างประสบการณ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างเป็นระบบ เลือกฝึกปฏิบัติงานการผลิตสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ที่นักศึกษามีความสนใจเป็นพิเศษ เพื่อให้เข้าใจในกระบวนการสร้างอาชีพและรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาประมง
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ - มีระเบียบ วินัย เคารพตามกฎกติกาสังคม ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  
- การบรรยายโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน - มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - ประเมินความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย - ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ - เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา - สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การบรรยาย - การสาธิต ในชั่วโมงปฏิบัติการ - การใช้กรณีตัวอย่าง เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ชัดเจน - บูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอน
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย - ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ - มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การบรรยาย - การสาธิต - การเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยให้แบ่งกลุ่มย่อย และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ของปฏิบัติการต่างๆอย่างเป็นระบบ
ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง และการตอบปัญหาในชั้นเรียน
-  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี -  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยจัดกิจกรรมกลุ่มในการทำบทปฏิบัติการ - มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล - การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
-ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- อธิบายวิธีการปฏิบัติการทดลอง และ/หรือ การคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎี - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
- ประเมินจากการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข/จัดเก็บข้อมูลการทดลองอย่างเป็นระบบ - ประเมินจากการเขียนรายงาน
- มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ
- สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาและพัฒนาต่อยอดได้
- จัดกิจกรรมให้เรียนรู้ทักษะปฏิบัติ
- จัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ประเมินจากทักษะการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
- ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
- คุณภาพของงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG313 ทักษะวิชาชีพประมง 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 5.1 ทดสอบ การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.2, 3.3, 5.2, 6.1 การลงมือปฏิบัติได้จริง, สมุดงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1, 3.3, 4.1, 4.2 พฤติกรรม การแสดงออก จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้      1.1  การประเมินการสอนตามแบบประเมินปลายภาคการศึกษา      1.2  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน      1.3 การตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบหลังจากจบบทเรียน      1.4  ให้นักศึกษาสะท้อนความคิดเห็นหลังจากจบบทเรียน
2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ตลอดจนมีการบูรณาการกับงานวิจัยและงานบริการวิชาการ
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในหลักสูตรตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   ปรับปรุงสื่อการสอนให้ทันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย