ภูมิทัศน์เบื้องต้น

Fundamental Landscape

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้ความหมายความสำคัญและอาชีพงานภูมิทัศน์
1.2 เข้าใจขอบเขตประวัติและวิวัฒนาการของงานภูมิทัศน์
1.3 พิจารณาเลือกรูปแบบงานภูมิทัศน์ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในงานภูมิทัศน์และการออกแบบภูมิทัศน์
1.4 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพภูมิทัศน์
1.5 มีทักษะพื้นฐานการเขียนแบบภูมิทัศน์
วัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้ เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและปรับเปลี่ยนไปตามข้อมูลในยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีพลวัตขององค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ โดยการให้นักศึกษาได้เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือค้นคว้าข้อมูลใหม่ๆ ใน web based ที่ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาประวัติความเป็นมาของวิชาชีพภูมิทัศน์ ความหมายและความสำคัญ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตงานภูมิทัศน์ รูปแบบในงานภูมิทัศน์ องค์ประกอบ ของภูมิทัศน์ วิวัฒนาการของศิลปะในยุคต่าง ๆ และศึกษาภูมิทัศน์เฉพาะถิ่น ฝึกปฏิบัติการเขียนกราฟฟิคในงานภูมิทัศน์
    3.1 วันพุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้อง 09-101 โทร 094-630 0606
    3.2 e-mail; phuping.s@gmail.com เวลา 06.00 – 24.00 น. ทุกวัน
    3.3 ปรึกษาผ่านเฟสกลุ่มปิด 2562-ภูมิทัศน์เบื้องต้น ตลอดเวลาทุกวัน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังความมีระเบียบวินัยด้านการแต่งกาย การตรงต่อเวลา และเคารพในกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและสังคม
1.2.2 กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม
1.2.3 สอดแทรกสาระและกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก    และฝึกการใช้เหตุผลด้านคุณธรรม จริยธรรม
4) ผู้สอนประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ทั้งในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
1.3.1 ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา และครบถ้วน
1.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนด้านมารยาท การแต่งกาย
1.3.4 ประเมินจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 สอนโดยการบรรยายโดยใช้สื่อประกอบ
2.2.2 การสอนผ่าน e-Learning
2.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองและจากประสบการณ์
2.2.4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างแท้จริง
2.2.5 จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมุติ
2.2.6 จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการใช้กรณีศึกษา
2.2.7 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ และกิจกรรมกลุ่ม
2.2.8 จัดกิจกรรมบูรณาการความรู้
2.3.1 ประเมินผลจากแบบทดสอบ
2.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของรายวิชาที่เรียนทั้งในชั้นเรียน  และนอกชั้นเรียน
2.3.3 ประเมินจากชิ้นงานที่ผู้เรียนสร้างสรรค์แล้วนำเสนอผู้สอนทั้งเป็นกลุ่ม       และรายบุคคล
2.3.4 ประเมินการต่อยอดความรู้จากกิจกรรมที่กำหนด
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1 มอบหมายงานที่ให้มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากห้องเรียน 3.2.2 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจ แก้ปัญหาในงานที่ได้รับมอบหมาย 3.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ 3.2.4 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดแบบองค์รวม 3.2.5 ให้ฝึกทักษะการวางแผนจากการทำกิจกรรมกลุ่ม  3.2.6 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ใช้ความคิด ริเริ่ม และสร้างสรรค์และต่อยอดความรู้ 3.2.7 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สรุปสาระความรู้ แนวคิด และข้อคิดจากจัดการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียน นอกสถานที่ และจากผู้มีประสบการณ์ตรง 3.2.8 ให้ศึกษา ค้นคว้า เพิ่มเติม และแสวงหาความรู้ใหม่ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.3.1 ประเมินผลจากแบบทดสอบ 3.3.2 ประเมินจากผลการประยุกต์ใช้ความรู้ และการต่อยอดความรู้ 3.3.3 ประเมินจากชิ้นงานและผลการดำเนินการ 3.3.4 ประเมินจากวิธีการและทักษะในแก้ปัญหาและผลลัพธ์ที่ได้ 3.3.5 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกทางปัญญาของผู้เรียนตั้งแต่ขั้นตอน    การสังเกต การตั้งคำถาม การสืบค้น การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า 3.3.6 ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าในกรณีตัวอย่าง 3.3.7 ประเมินจากการนำเสนอผลการศึกษา ค้นคว้า เพิ่มเติม ตามหัวข้อที่ผู้สอนกำหนด 3.3.8 ประเมินความสำเร็จของโครงการตามที่ได้วางแผนไว้ 3.3.9 ประเมินจากการสรุปผล/ประยุกต์ใช้/วิเคราะห์ /สังเคราะห์ ความรู้
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดให้มีการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยมีการหมุนเวียนการเป็นผู้นำและผู้ตามในฐานะสมาชิกกลุ่ม 4.2.2 กำหนดให้มีการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจนภายในกลุ่ม 4.2.3 กำหนดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนแสดงออกซึ่งการมีมนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพ    ภาวะผู้นำ และผู้ตาม ที่เหมาะสม 4.2.4 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก แสดงความคิดเห็น เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยการจัดอภิปรายและเสวนาในงานที่ได้รับมอบหมาย 4.2.5 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนแสดงออกซึ่งการมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 4.2.6 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทย และสังคมโลก 4.2.7 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเคารพและเห็นคุณค่าของตนเองผู้อื่นและยอมรับความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
4.3.1 ประเมินจากงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย 4.3.2 ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำ ผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ 4.3.3 ประเมินจากแบบประเมินตนเองและกลุ่มเพื่อน 4.3.4 ประเมินความพึงพอใจจากผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการจัดกิจกรรมจิตอาสา   และสำนึกสาธารณะ 4.3.5 ประเมินพฤติกรรมการแสดงออกซึ่งการปรับตัว จากการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันในสังคม 4.3.6 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกซึ่งความเป็นพลเมืองดี
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา 5.2.2จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ   ในรูปแบบที่หลากหลาย โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพื้นฐาน 5.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีเพื่อรวบรวม คัดกรอง วิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับความต้องการและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 5.2.4 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้รู้เท่าทันสื่อ และเลือกใช้ข้อมูลจากสื่อดิจิทัลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.2.5 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงทักษะการสื่อสาร การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 5.2.6 ให้ผู้เรียนจัดทำและนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างเหมาะสม
5.3.1 การสอบปฏิบัติการด้านทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 การสอบปฏิบัติการใช้ทักษะทางภาษา 5.3.3 ประเมินผลการจัดกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย 5.3.4 ประเมินจากการเลือกใช้สื่อและแสดงออกผ่านสื่อที่เหมาะสม 5.3.5 ประเมินพัฒนาการทักษะทางการสื่อสาร 5.3.6 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนจัดทำและนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายโดยใช้ทักษะและเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ มีความรอบรู้ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำ มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ มีทักษะการสื่อสาร มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG160 ภูมิทัศน์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 (1.1) 2 (2.1, 2.2) 3 (3.2,3.3) การทดสอบย่อย (Quiz) ครั้งที่ 1 การสอบกลางภาค การทดสอบย่อย (Quiz) ครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 4 9 13 17 5% 15% 5% 15%
2 1 (1.1) 2 (2.1, 2.2) 4 (4.1,4.2) 6 (6.1) วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1 (1.1) 3 (3.1) 5 (5.1) 6 (6.1) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
จรัสพิมพ์  บุญญานันต์. ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง สุโขทัย  เชียงใหม่ 
และนครธม. พิมพ์ลงในจุลสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ปีที่ ๑  ฉบับที่  ๑ (กรกฎาคม-ธันวาคม)  ๒๕๕๓
สันทัด สมชีวิตา. เรื่องการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ. สารานุกรมไทยสำหรับ
เยาวชนฯ เล่มที่ 21 สื่อออนไลน์. 14 พฤษภาคม 2554
ไม่มี
เอกรินทร์  สี่มหาศาล  และคณะ (ม.ป.ป.). สังคมศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม ป.4 . พิมพ์ครั้งที่ 3 .
      กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์.
William R. Clark (Department of Ecology, Evolution, and Organismal Biology, Iowa State
      University) © 2010 Nature Education Citation: Clark, W. (2010) Principles of
      Landscape Ecology. Nature Education Knowledge 3 (10): 34
โสภา  สงคราม 2556. http://reo01.mnre.go.th/component/content/article/ ออนไลน์เมื่อ 12
มิถุนายน 2556.
http://www.jnto.go.jp/eng/indepth/history/experience/b.html
http://www.thailandscape.com/ginspire/japan-gar/index.htm
http://www.novabizz.com/CDC/Garden/Garden_Japanese.php
http://www.readygarden.biz/index.php?lay=show&ac=article&Id=42185&Ntype=1
http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/upload_files/garden/frontweb/design/garden_0701_3.jsp
http://www.jsnw.org.uk/Gallery2/Japanese-Garden-Tatton-Park_05.JPG
http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/Web%20IS%20Environment%20gr.3/p          age13_tem.htm
http://www.thaiwhic.go.th/faq.aspx
http://talung.pt.ac.th/ptweb/kanjanee/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%991/ climate.html
http://www.tmd.go.th/info/sec_listpublication03_n.html
http://www.e-manage.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=45&
http://www.baanjomyut.com/library/maithai/index.html
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอน ทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินฯ ของรายวิชาไม่น้อยกว่า 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป