กระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ

Textile Dyeing and Finishing Process

รู้ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของกระบวนการย้อมสีสิ่งทอและกระบวนการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอบนเส้นใยแต่ละชนิด มีทักษะในการเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสำหรับกระบวนการย้อมสีสิ่งทอและกระบวนการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ มีทักษะในการควบคุมสภาวะการทำงานของกระบวนการย้อมสีสิ่งทอและกระบวนการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอบนเส้นใยแต่ละชนิด มีทักษะในการควบคุมสภาวะการทำงานของเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จ เห็นความสำคัญของการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จที่มีผลต่ออุตสาหกรรมสิ่งทอ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชากระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอสำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรออกแบบสิ่งทอซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความสำคัญและวัตถุประสงค์ของกระบวนการย้อมสีสิ่งทอและกระบวนการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอบนเส้นใยแต่ละชนิด วิธีการควบคุมสภาวะการทำงานของแต่ละกระบวนการ สารเคมีและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและวัตถุประสงค์ของกระบวนการย้อมสีสิ่งทอและกระบวนการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอบนเส้นใยแต่ละชนิด วิธีการควบคุมสภาวะการทำงานของแต่ละกระบวนการ สารเคมีและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ
- อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาผ่านทาง Line, Facebook หรือทาง E-mail ของผู้สอน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ผ่านทาง Line หรือ Facebook
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม
สังเกตการพฤติกรรมของนักศึกษา ตรวจสอบการส่งผลงานตามกำหนดเวลา
2.1.1 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการปฏิบัติที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา ผ่านระบบการสอนออนไลน์ RMUTL Education ระบบ Moodle หรือ Microsoft teams โดยจัดทำสื่อ Digital ในรูปแบบใบความรู้
2.3.1 ผลงานที่มอบหมาย
2.3.2 ผลการสอบภาคปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 มีสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ใช้การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากงานที่มอบหมาย ที่ upload ส่งในระบบ
3.3.2 การนำเสนองานในห้องเรียนออนไลน์
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม active learning เน้นความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
ประเมินจากประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมกลุ่มต่างๆ
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้สืบค้นข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดหามาตามหลักวิชาการและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ประเมินจากความถูกต้องในวิธีการสืบค้นข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม การอธิบาย และการนำเสนอ
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีการทำตามแบบตัวอย่างเพื่อให้นักศึกษามีแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
6.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ126 กระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3 2.4 3.1 3.2 6.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.2 5.1 6.1 งานที่มอบหมาย การทำงานกลุ่ม รายงานจากการศึกษาดูงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1 ความสนใจ, เข้าเรียนสม่ำเสมอการ, การเข้าเรียนตรงเวลา, การส่งงานตรงตามเวลา, การปฏิบัติตนขณะศึกษาดูงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองไทยเพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ให้แก่ประชาชน (ฝ้ายแกมไหม). 2546. คู่มือย้อมสีธรรมชาติ ฉบับผู้รู้ท้องถิ่น. เชียงใหม่. โครงการฝ้ายแกมไหม  สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
1.2 โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองไทยเพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ให้แก่ประชาชน (ฝ้ายแกมไหม). 2548.องค์ความรู้เรื่องสีย้อมธรรมชาติ เล่ม 1. เชียงใหม่. โครงการฝ้ายแกมไหม  สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
1.3 มณฑา  จันทร์เกตุเลี้ยด. 2541.วิทยาศาสตร์สิ่งทอเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
          1.4 อัจฉราพรไศละสูต. 2539.ความรู้เรื่องผ้า.  กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ.
1.5 อภิชาติ  สนธิสมบัติ.  2545.  กระบวนการทางเคมีสิ่งทอ.  ปทุมธานี :  คณะวิศวกรรมศาสตร์ 
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
1.6 วชิรา  ณ เชียงใหม่.  เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการย้อมสีสิ่งทอ.  เชียงใหม่ : สาขาวิชาออกแบบสิ่งทอ  คณะวิชาออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตภาคพายัพ, 2547
1.7 A R Horrocks  and S C Anand. HANDBOOK OF TECHNICAL TEXTILES. New York :Woodhead Publishing Limited, Cambridge England, 2000.
1.8 Gohl, E.P.G. and Vilensky, L.D. 1990. Textile Science. Melbourne: Longman Cheshire.
1.9 Jenny Dean. Wild Color. United State : Watson-Guptill Publication. 1999.
1.10 Rebecca Burgess. Harvesting color. New York : Published by Artisan. 2011.
1.11 Sasha Duerr. Natural Color. United State : Watson-Guptill Publication. 2016.
1.12 Wulfhorst, Burkhard. Gries, Thomas. And Veit, Dieter. 2006. Textile Technology. München, Germany: Carl Hanser Verlag.
 
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านกระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จ       สิ่งทอ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการย้อมสีและตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ
http://www.ttistextiledigest.com
http://www.thaitextile.org
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ในห้องเรียน Online แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหดของมหาวิทยาลัย

1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน e-mail ผ่าน Line /Facebook  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1  ผลงานของนักศึกษา
2.2  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลผลการเรียนรู้
3.1 ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
          5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา