ศิลปะประจำชาติ

Traditional Thai Art

1.1 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ พื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมและวรรณกรรมไทย
1.2 เข้าใจรูปแบบเนื้อหาและลักษณะของศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ
1.3 ปฏิบัติ สร้างสรรค์คุณค่าของงานศิลปะประจำชาติ
2.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
2.2 เพื่อพัฒนาแผนการสอนที่เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของศิลปะประจำชาติไทย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ พื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรม และ วรรณกรรมไทย
Study and practice of the fundamentals of traditional Thai arts such as painting, sculpture, architecture, dramatic works and Architecture.
3.1 อาจารย์ผู้สอนประกาศให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียนโดยการสื่อสาร Online โดยแจ้งให้นักศึกษารับทราบทั่วกัน
3.2 อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาวิชาการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลจำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยกำหนดระยะเวลาล่วงหน้าและเฉพาะรายที่ต้องการ ผ่านการเรียนการสอน Online ระบบ Ms Teams หรือ Zoom
1.1.2 ˜ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 ™ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
1.2.1 แจ้งข้อปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชา ให้ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตอาสา และจิตสำนึกสาธารณะ
1.2.2 การส่งแบบฝึกหัด การบ้าน และงานที่มอบหมายให้ตรงเวลา ไม่ลอกงานกัน
1.3.1 ตรวจสอบและบันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียน
1.3.3 ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
™ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง


˜ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม


 
2.1.1 การบรรยาย อภิปราย ยกตัวอย่าง การคิด วิเคราะห์ ถามตอบในชั้นเรียน
2.1.2 การนำเสนองานออกแบบ รายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและงานที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มอบหมายให้ค้นคว้าและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.1 ประเมินจากการคิด วิเคราะห์ และการเลือกรูปแบบในการนำเสนองาน
2.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3 ความถูกต้องจากการฝึกปฏิบัติงาน
3.1.2 ™ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.4 ˜ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติงาน โดยเน้นวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และการนำเสนอผลงานผ่านทักษะกระบวนการทางการปฏิบัติ
3.2.2 การนำความรู้มาถ่ายทอดสู่ผู้เรียนด้วยตัวอย่างผลงาน
3.3.1 ประเมินผลงาน การวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และการนำเสนอผลงานผ่านทักษะกระบวนการทางการปฏิบัติ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
4.1.2 ˜ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผล ในงานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.2 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ร่วมแสดงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
5.1.2 ™ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่อการสอนประเภทต่างๆ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
5.2.2 นำเสนอโดยผ่านสื่อ ตัวอย่างผลงาน
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้อง การอธิบาย และการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            6.1.1 ˜ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
            6.1.2 ™ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
            6.2.2 กำหนดโจทย์การปฏิบัติงาน โดยเน้นฝึกปฏิบัติงานการเขียนลวดลายในงานศิลปะไทยแบบต่างๆ
            6.2.3 ฝึกฝนเทคนิควิธีการ ทักษะต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
            6.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายและประมวลผลการปฏิบัติงานการเขียนลวดลายในงานศิลปะไทยแบบต่างๆ
            6.3.2 ประเมินผลจากการเขียนลวดลายที่ถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFACC401 ศิลปะประจำชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 พุทธิพิสัย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17-18 20 % 20 %
2 ทักษะพิสัย ประเมินการนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50 %
3 จิตพิสัย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
บุญทอง  อิ่มลาภผล.ศิลป์ไทย(ชุดภาพเทพเจ้า) :วาดศิลป์ จำกัด. กรุงเทพฯ.2544.
สมคิด หงษ์สุวรรณ.ศิลป์ไทย(ชุดลวดลายประกอบในศิลป์ไทย) :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2546.
-------------กระหนกนารีกระบี่คชะ :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2549.
อารี  สุทธิพันธ์. ทัศนศิลป์และความงาม (หนังสือชุดทัศนศิลป์ ๕): แสงชัยการพิมพ์.กรุงเทพฯ.2512.
อารี  สุทธิพันธ์.การออกแบบฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๒.บริษัทไทยวัฒนาพาณิช  จำกัด.กรุงเทพฯ.2524. 
อำนาจ  เย็นสบาย.ความงาม:ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม,มหาวิทยาลัยประสานมิตร.สีสันการพิมพ์
            กรุงเทพฯ.2531
Erwin  O  Christensen.The History Of Western Art:Mentor Book, New York.1959.
Thame & Hudson.A Concise  History of Modern  Painting:Read,Herber,London1959.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
- วารสาร เมืองโบราณ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดั้งนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านออนไลน์ MS Teams กลุ่ม Facebook หรือ Line ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน  ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
  2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมผู้สอน
  2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
  2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน ประสิทธิภาพของรายวิชา นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับฝึกอบรมกลยุทธ์พัฒนาการเรียนการสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งหลักสูตรเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตรและคณะ การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์ในการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงแผนการสอน และเนื้อหาให้ทันสมัย
5.2 ปรับปรุงรูปแบบการสอน ให้สอดคล้องกับผู้เรียนศตวรรษที่ 21
เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอหลักสูตร/คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป