การวิเคราะห์รายงานทางการเงิน

Financial Reporting Analysis

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลักษณะของรายงานทางการเงิน และประโยชน์ที่ได้จากการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน และลักษณะของการการเปิดเผยข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจ เพื่อให้รู้แนวคิด หลักการ ทฤษฎี เครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และวิธีการวิเคราะห์งบการเงิน รวมทั้งการประเมินผลกระทบของการเลือกใช้นโยบายการบัญชีของธุรกิจ เพื่อให้นักศึกษา ค้นคว้า และ วิเคราะห์จากรายงานการเงินของธุรกิจ ในปัจจุบัน ตามความสนใจของนักศึกษา เพื่อฝึกหัดการนำเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์รายงานการเงิน รวมทั้งสามารถประเมินผลกระทบของการเลือกใช้นโยบายการบัญชี ได้อย่างถูกต้อง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษาให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
 เพื่อพัฒนาความสามารถของนักศึกษาในการวิเคราะห์รายงานการเงินของธุรกิจ  เพื่อพัฒนานักศึกษาเข้าใจในการฝึกทักษะในการสรุปผล และการตีความ การวิเคราะห์รายงานการเงิน
ศึกษาการวิเคราะห์รายงานทางการเงินและข้อมูลทางการบัญชีอื่นที่สำคัญเพื่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน เช่น นักลงทุน เจ้าหนี้ และผู้มีส่วนได้เสี่ยอื่น โดยอาศัยเครื่องมือในการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน ประกอบด้วย การวิเคราะห์ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด คุณภาพกำไรและการบริหารกำไร การวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การประเมินผลกระทบของการเลือกใช้นโยบายการบัญชีที่แตกต่างกันที่มีผลต่อการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน การสรุปผลและรายงานผลการวิเคราะห์ โดยเน้นการใช้กรณีศึกษาและวิเคราะห์รายงานทางการเงินของธุรกิจ
5
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และตำราอื่นๆ
- พูดคุย โต้ตอบ
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
- บรรยายความรับผิดชอบต่อของผลการวิเคราะห์ต่อผู้ใช้งบการเงิน
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
- การสอบ
 
 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ วิจัยเชิงวิชาการ และตำราอื่นๆ
- พูดคุย โต้ตอบ
- ทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาร่วมกัน
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ค้นคว้าทำรายงานการวิเคราะห์
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
- การสอบ
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.3  สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ วิจัยเชิงวิชาการ และตำราอื่นๆ
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ทำ Case-study ในชั้นเรียน
- การใช้โปรแกรมขั้นพื้นฐานช่วยในการวิเคราะห์รางานทางการเงิน
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
 
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และตำราอื่นๆ
- มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
-การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
-ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
- การสอบ
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ  การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน 5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- การใช้โปรแกรมขั้นพื้นฐานช่วยในการวิเคราะห์รางานทางการเงิน
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
- วัดคะแนนการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
1 BACAC141 การวิเคราะห์รายงานทางการเงิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,4,5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 สอบกลางภาค 35% สอบปลายภาค 35%
2 2,3,4,5 การทำงานกลุ่มและรายงานผลงานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย 3, 6, 8,16 20%
3 1,2,3,4,5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย ความกล้าแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
Financial Reporting & Analysis, Charles H. Gibson: South-Western Cengage Learning.
Corporate Financial Analysis with Microsoft Excel, Francis J. Clauss: McGraw-Hill.
Financial Statement Analysis. K.R. Subramanyam: Mc Graw Hill
- เยาวรักษ์ สุขวิบูลย์. รายงานทางการเงินและการวิเคราะห์งบการเงิน
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิเคราะห์งบการเงิน.
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยใช้ปัจจัยพื้นฐาน e-book
- สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน ) ปรับปรุง 2558 ( และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2561) และทุกฉบับที่เกี่ยวข้อง
- งบการเงิน ของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เอกสารจากเว็บไซด์
เว็บไซด์ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.ifac.or.th
เว็บไซด์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า www.dbd.go.th
เว็บไซด์ กรมสรรพากร www.rd.go.th
ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
     2.1 พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ
     2.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้
     2.3 พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
     นำผลการประเมินประสิทธิผลการสอนรายวิชาโดยนักศึกษามาพิจารณาปรับปรุงการสอน
     สรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากผลการสอบ การทำกรณีศึกษา ปรับปรุงการสอนโดยเน้นในเรื่องที่นักศึกษาขาดทักษะ
การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
     นำผลการประเมินจากข้อ 1 ข้อ 3 และ ข้อ 4 มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในเรื่อง
อาจารย์ผู้สอน การจัดตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนและปรับปรุงเนื้อหา มาตรฐานข้อสอบ