การบริหารความขัดแย้งในองค์กร

Organizational Conflict Management

1.1. รู้ความหมาย ธรรมชาติ ประเภทของความขัดแย้ง ปัจจัยที่เก่อให้เกิดความขัดแย้ง ผลดีและผลเสียของความขัดแย้ง
1.2. เข้าใจความขัดแย้งภายในบุคคล ระหว่างบุคคล ระหว่างกลุ่ม และความขัดแย้งในองค์การ
1.3. รู้แนวทางลดและแก้ไขความขัดแย้ง
1.4. เข้าใจเทคนิคการบริหารความขัดแย้งและประยุกต์ใช้ในการทำงานได้
     เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยนำความรู้ทางทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้งในองค์การมาใช้ และบูรณาการกับองค์ความรู้ทางบริหารธุรกิจได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
     ศึกษาถึงปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานโดยมองความขัดแย้งระหว่างบุคคล กลุ่ม และองค์กร แนวทางการลดความขัดแย้ง การแก้ไข และเทคนิคการบริหารความขัดแย้งที่นำไปสู่การพัฒนา
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เฉพาะนักศึกษารายบุคคลหรือรายกลุ่มที่ต้องการคำปรึกษาทางวิชาการ
1.1.2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนร่วมแลสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
1.2.3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1. กำหนดให้นักศึกษาส่งงานที่ได้รับมอบหมายและเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา
1.2.2. กำหนดให้นักศึกษาอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในการค้นคว้าหรือทำงานส่งทุกครั้ง และไม่ลอกเลียนแบบผลงานของผู้อื่น
1.3.1. ประเมินจากพฤติกรรมการส่งงานและการเข้าห้องเรียน
1.3.2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
2.1.1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติสำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะมนการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.2.1. สอบแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายเชิงปฏิบัติการ บรรยายแบบตั้งคำถาม และอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ 
2.2.2. ฝึกปฏิบัติโดยการวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งในองค์การ
2.2.3. ค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีความขัดแย้ง
2.3.1. ประเมินผลจากการสอบกลางภาคเรียน และสอบปลายภาคเรียน
2.3.2. ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.3. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.1.2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทำให้เกิดการได้เปรยบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1. ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์กรณีศึกษาซึ่งต้องวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบของแต่ละทางเลือก
3.2.2. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษาโดยนำองค์ความรู้ด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ หลักการจัดการมาใช้อย่างเหมาะสม
3.3.1. ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาโดยเลือกทางเลือกที่เหมาะสม
3.3.2. ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาโดยบูรณาการองค์ความรู้ด้านบริหารธุรกิจมาใช้อย่างเหมาะสม
4.1.1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1. แบ่งกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2. อภิปรายแนวทางเลือกจากกรณีศึกษาโดยแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และรับฟังความคิดเห็นต่าง
4.3.1. ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
4.3.2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมอภิปรายอย่างสร้างสรรค์
5.1.2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทสที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.6. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นความขัดแย้งในสังคมจากสื่อเทคโนโลยี
5.2.2. นำเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาด้วยการเขียน
5.2.3. นำเสนอผลการวิเคราะห์ประเด็นความขัดแย้งโดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมาย
5.3.2. ประเมินผลจากกรณีศึกษา
5.3.2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ประเด้นความขัดแย้ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมและจริย.ธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1. กำหนดให้นักศึกษาส่งงานที่ได้รับมอบหมายและเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา 1.2.2. กำหนดให้นักศึกษาอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในการค้นคว้าหรือทำงานส่งทุกครั้ง และไม่ลอกเลียนแบบผลงานของผู้อื่น 2.2.1. สอบแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายเชิงปฏิบัติการ บรรยายแบบตั้งคำถาม และอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ 2.2.2. ฝึกปฏิบัติโดยการวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งในองค์การ และค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีความขัดแย้ง 3.2.1. ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์กรณีศึกษาซึ่งต้องวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบของแต่ละทางเลือก 3.2.2. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษาโดยนำองค์ความรู้ด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ หลักการจัดการมาใช้อย่างเหมาะสม 4.2.1. แบ่งกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2. อภิปรายแนวทางเลือกจากกรณีศึกษาโดยแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และรับฟังความคิดเห็นต่าง 5.2.1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นความขัดแย้งในสังคมจากสื่อเทคโนโลยี 5.2.2. นำเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาด้วยการเขียน 5.2.3. นำเสนอผลการวิเคราะห์ประเด็นความขัดแย้งโดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 BBABA210 การบริหารความขัดแย้งในองค์กร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.3 1. ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการส่งงานและการเข้าชั้นเรียน 2. ประเมินผลจากงาน และรายงานที่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลถูกต้อง ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 2.1.1, 2.1.2 ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียน และสอบปลายภาคเรียน 8, 17 ร้อยละ 60
3 3.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.2, 5.1.3, 5.1.6 1. ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2. ประเมินจากงานและรายงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 30
พรนพ พุกกะพันธุ์. การบริหารความขัดแย้ง. พิมพ์ครั้งที่ 1 : กรุงเทพมหานคร : บริษัท ว.เพ็ชรสกุล จำกัด, 2542.
นรินทร์ องค์อินทรี และธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. การจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร :      ธรรกมลการพิมพ์, 2549.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. เทคนิคการแก้ไขความขัดแย้ง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : Forepace Publishing House, 2547.
ยุดา รักไทย และธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : ธรรกมลการพิมพ์, 2549.
ไม่มี
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาที่กำหนด
1.1. สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2. แบบประเมินผู้สอน
1.3. ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาระหว่างเรียน
2.1. สังเกตความสนใจของผู้เรียน
2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชา
     ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากระดับค่าคะแนนจากการเรียนของนักศึกษาและการวิเคราะห์กรณีศึกษา พบว่า ควรให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาที่มีความหลากหลายมากขึ้น    
     ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทะิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากการสอบถามนักศึกษา การสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
     หลังจากการตัดเกรดผลการเรียนในรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทะิ์โโยรวมในวิชาโดยการทวนสอบจากการออกข้อสอบ การให้คะแนนสอบ งานที่มอบหมาย และการให้คะแนนพฤติกรรมระหว่างเรียนและร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
     จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพ่ือให้เกิดคุณภาพมากข้ึนโดยปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทะิ์ตามข้อ 4