เทคโนโลยีไขมันและน้ำมัน

Fat and Oil Technology

ศึกษาเกี่ยวกับสมบัติทางเคมี และกายภาพของไขมันและน้ำมันที่ใช้บริโภค การสกัดการทำน้ำมันให้บริสุทธิ์ การเสื่อมเสีย การเก็บรักษา การแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการบริโภค
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สามารถบอกองค์ประกอบ สมบัติทางเคมี และกายภาพ ของไขมันและน้ำมันที่ใช้บริโภค
1.2 มีความเข้าใจหลักการการแปรรูปไขมัน น้ำมันและผลิตภัณฑ์ การดัดแปรไขมันและน้ำมัน
1.3 สามารถอธิบายวิธีการเก็บรักษา และการเสื่อมเสียของไขมันและน้ำมัน
1.4 มีความเข้าใจหลักการ และสามารถวิเคราะห์การวิเคราะห์คุณภาพ ของไขมันและน้ำมันในอาหาร
ศึกษาองค์ประกอบ สมบัติทางเคมี และกายภาพ ของไขมันและน้ำมันที่ใช้บริโภค การแปรรูปไขมัน น้ำมันและผลิตภัณฑ์ การดัดแปรไขมันและน้ำมัน การเก็บรักษา การเสื่อมเสีย การวิเคราะห์คุณภาพ ของไขมันและน้ำมัน
Study on component, chemical and physical properties of edible fat and oil; processing, modification, storage and deterioration of fat oil and products; quality analysis of fat oil and products
จัดให้นักศึกได้เข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง (ตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางสอนและตารางปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา) โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อเริ่มต้นการเรียนการสอนในภาคการศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) 1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) 1) สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 2) สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3) สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ .ตามสาระเนื้อหาของหน่วยเรียน 1-7 การทดสอบย่อย (Quiz) 2-16 20 %
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (CognitiveSkills) 1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มามาคิดและใช้อย่างมีระบบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) 1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดและใช้อย่างมีระบบ ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) 1) สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 2) สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3) สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ .ต ามสาระเนื้อหาของหน่วยเรียน 1-7 การสืบค้น และการเขียนรายงานกลุ่มตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย 1-8, 10-16 30 %
3 การสอบวัดผลกลางภาค 9 20 %
4 การสอบปลายภาค ๅึ7 20 %
5 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8, 10-16 10 %
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2545. เคมีอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2544. วิทยาศาสตร์การอาหารของไขมันและน้ำมัน. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ
อาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
วสุ สันติมิตร. 2534. พืชน้ำมัน. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์นครศรีธรรมราช สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,
นครศรีธรรมราช.

บวร. 2540. น้ำมันปลา : สารโภชนาการช่วยกู้ชีวิต. เจริญวิทย์การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 143 น.

สมพงษ์ สหพงษ์. 2541. น้ำมันปลา : น้ำมันลดไขมัน. สำนักพิมพ์รวมทรรศน์, กรุงเทพฯ. 79 น.
Allen, R. J. and R. J. Hamilton. 1994. Rancidity in Foods. 3rd ed. Blackie Academic & Professional, New York,
U.S.A.
Fennema, O. R. 1985. Food Chemistry, 2nd ed, Revised and Expaned. Marcel Dekker, Inc. New York, U.S.A.
997 p.

C.M.D. and A. A. , Jones. 1994. Shelf Life Evaluation of Foods. Blackie Academic & Professional.

London, UK. 321 p.
เวปไซด์แนะนำวารสารต่างประเทศเช่น Journal of Food Lipid, Journal American Oil’s Chemist Society, Food Chemistry, Asian journal of Food and Agro-industry, มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เวบไซต์ อาทิ
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp