การดำเนินธุรกิจขนาดย่อม

Small Business Management

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบธุรกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม  สาเหตุที่ทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จและล้มเหลว  แนวทางแก้ไขเพื่อให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ  การจัดทำแผนธุรกิจ  การเลือกทำเลที่ตั้ง  การตลาด  การผลิต  การเงินและการบัญชี  การบริหารงานบุคคล สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้
    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ

        2. เพื่อปรับปรุงการยกตัวอย่างให้มีความทันสมัยตรงตามยุคการเปลี่ยนแปลง
ขอบข่าย  ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม  ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม  การดำเนินธุรกิจขนาดย่อม  การบริหารการเงิน  การบัญชี  การตลาด  ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม
1.1.2 มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1ฝึกนักศึกษาให้มีวินัย  ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นผู้อื่ ใช้การเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

                  3 จัดการเรียนให้มีการค้นคว้าและใช้สื่อเทคโนโลยีมานำเสนองาน
                  4  ฝึกปฏิบัติแก้กรณีศึกษา
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน
1.3.3   ประเมินผลการปฏิบัติการแก้ปัญหากรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
                2.1.1    เข้าใจองค์ความรู้ในรายวิชาอย่างกว้างขวางเป็นระบบ
                2.1.2    สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบธุรกิจได้อย่างถูกต้อง
                2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ทั้งในรายวิชา  และวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
                 2.2.1   บรรยายความรู้ทฤษฏี 
                2.2.2  ใช้การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกกรณีศึกษาที่อยู่ใน
                           หัวข้อที่ตนสนใจ
                2.2.3   จัดกิจกรรมที่ต้องมีการศึกษาค้นคว้าใช้สื่อเทคโนโลยี
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการทำงานกลุ่ม
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
            3.1.1  สามารถนำความรู้ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติมาใช้ในการประกอบอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลัก
                        วิชา
              3.1.2  สามารถวิเคราะห์  วางแผน แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง
3.2.1  บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี  ทำความเข้าใจเกี่ยวกับภาคปฏิบัติก่อนให้ผู้เรียนฝึกทำเอง
3.2.2   ฝึกปฏิบัติประกอบรายการอาหารที่เหมาะสม
3.2.3   วิเคราะห์รายการอาหารที่นำเสนอ  ว่าถูกต้องในหลักการประกอบอาหารหรื่อไม่
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค 
3.3.2   วัดผลจากการฝึกปฏิบัติ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตผลงานการนำเสนอผลงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันในการทำงานร่วมกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล 
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่ม
 4.2.3  ในการฝึกปฏิบัติเน้นให้ช่วยกันเพื่อความสำเร็จของกลุ่ม
4.3.1   งานที่มอบหมาย
4.3.2  ให้ผู้เรียนประเมินกันเอง
4.3.3   ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน  เพื่อนำไปสู่การสรุปเกี่ยวกับการวางแผนงาน การสร้างความ
           เข้าใจในงานกลุ่ม  การสร้างภาวะผู้นำ  
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณวิเคราะห์ในการบริหารการเงิน การบัญชี
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารในขณะนำเสนอหน้าห้องเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการสุปงานได้อย่างเหมาะสม
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เนตได้เหมาะสมมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติการแก้กรณีศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม 2ความรู้ 3ทักษะทางปัญญา 4ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิคชอบ 5ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1ด้านคุณธรรม 1ด้านคุณธรรม 1ด้านคุณธรรม 1ด้านคุณธรรม 2 2 2 3 3 4 4 4 4 5 5 5
1 BSCFN111 การดำเนินธุรกิจขนาดย่อม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ สอบรายงาน กรณีศึกษา สอบกลางภาค สอบปลายภาค 7 9 17 10 % 25 % 25 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค นำเสนอโครงงาน 9 17 15 20%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ตลอดภาคเรียน 5%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร แฟ้มสะสมผลงาน การบ้าน การรายงานหน้าชั้นเรียน 1-15 5%
-  อำไพ  ขันแก้วหล้า .2552.การตำเนินธุรกิจขนาดย่อม.เอกสารประกอบการสอนหลักสูตรคหกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา  ตาก.
- ไม่มี
-ผุสดี  รุมาคม.2540.  การบริหารธุรกิจขนาดย่อม.กรุงเทพฯ :  ฟิสิกซ์เซ็นเตอร์.
   -สมชาย  หิรัญกิตติ .2542. การบริหารธุรกิจขนาดย่อม.  กรุงเทพฯ.  ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์
   -ศิริวรรณ  เสรีรัตน์.  กลยุทธ์การตลาด.  สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา.  กรุงเทพฯ .2539.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน ผลการเรียนของนักศึกษา

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสอบถามนักศึกษาโดยการให้แสดงความคิดเห็น โดยไม่ต้องลงชื่อในกระดาษแสดงความคิดเห็น
มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
2.1   ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นและหาแนวทางแก้ไข
2.2   ปีต่อไปนำปัญหาที่เกิดขึ้นไปปรับใช้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
4.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
4.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง