การผลิตต้นแบบเครื่องประดับด้วยแว๊กซ์ 1

Wax of Jewelry Mastering 1

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการเขียนภาพประกอบ เทคนิคการ เขียนภาพประกอบ เพื่อใช้ในงานออกแบบสิ่งทอ ออกแบบแฟชั่น และออกแบบเครื่องประดับ รูปแบบการ เขียนภาพประกอบ การนา เสนอผลงานภาพประกอบ 
      practices  calculating wax weight and comparison of waxand.metal weight,wax jewelry carving technigues, fundamentals basics fo wax jewelry carving, advanced wax
jewelry mastering.
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับผู้เรียน และสอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน 
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการเขียนภาพประกอบ เทคนิคการ เขียนภาพประกอบ เพื่อใช้ในงานออกแบบสิ่งทอ ออกแบบแฟชั่น และออกแบบเครื่องประดับ รูปแบบ การเขียนภาพประกอบ การนา เสนอผลงานภาพประกอบ 
การศึกษาดว้ยตนเอง  4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ 
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ทตี่้องพฒันา พฒันาผูเ้รียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตาม คุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวชิาการและวชิาชีพ  
1.2  วธิีการสอน  
1.2.1  บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างรูปแบบตน้แบบ เครื่องประดบัดว้ยแวกซ์  
1.2.2 ก าหนดให้นกัศึกษาเรียนตาม เนื้อหาตามหลักสูตรและศึกษาเนื้อหานอกชั้นเรียนหรือนอก สถานที่เกี่ยวกับรูปแบบตน้แบบเครื่องประดบัดว้ยแวกซ์หรือเทียน 
1.3 วธิีการประเมินผล
 1.3.1    พฤติกรรมการเขา้เรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 1.3.2  ผลงานทา ตน้แบบเครื่องประดบัดว้ยแวกซ์หรือเทีย
2. ความรู้
 2.1 ความรู้ ทตี่้องได้รับ  2
2.1.1  ความรู้การขึ้นต้นแบบเครื่องประดับด้วยแวกซ์  
2.1.2  ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการขึ้นต้นแบบเครื่องประดบัได้
บรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เกี่ยวกับความรู้การขึ้นต้นแบบ เครื่องประดบั  ใหม้ีความเหมือนจริง สามารถสื่อความหมายตามแบบที่ไดอ้อกแบบไว้  
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดว้ยขอ้สอบที่เนน้การความรู้ ความเข้าใจ การนา ไปใช้  
2.3.2 ประเมินจากงานปฏิบตัิปลายภาคเรียนของผเู้รียนในการผลิตตน้แบบครื่องประดบัดว้ยแวกซ์      
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ  
3.1.2  พฒันาความสามารถในการประยกุตใ์ช้ เครื่องมือ ในการ ผลิตตน้แบบครื่องประดบัดว้ยแวกซ์    
3.2.1   สอนแบบบรรยาย โดยใชรู้ปภาพประกอบ และ ตัวอย่างผลิตตน้แบบครื่องประดบัดว้ยแวกซ์  
3.2.2  สอนแบบสถานการณ์จริงโดยนา รูปแบบ ในปัจจุบนัมาน าเสนอให้นักศึกษาศึกษาดูผลงาน พร้อมนา มาเป็นแนวคิดในการออกแบบ และทา ตน้แบบ 
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเนน้ขอ้สอบที่มีเนน้การปฏิบตัิและประยกุตใ์ช้เครื่องมือ
3.3.2   วดัผลจากงานปฏิบตัิปลายภาคเรียนทั้งการวาดรูปด้วยมือ และ เขียนบรรยายขั้นตอนการ ปฎิบัติงานการขึ้นต้นแบบดว้ยแวกซ์ 4
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  
4.1.2   พฒันาการเรียนรู้ดว้ยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหค้รบถว้นทนัตาม ก าหนดเวลา 
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล    
4.2.2   การนา เสนองาน 
4.2.3  สอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน อาจารยผ์สู้อน
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นา เสนอและพฤติกรรมการทา งานของนกัศึกษาตามหลกัการ
4.3.3   ประเมินจากการมอบหมายงานนอกเวลา 
4.3.3  ประเมินการสอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team
5.1.1   ทกัษะการคิดคา นวณ เชิงตวัเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน  
5.1.3  พฒันาทกัษะในการสืบคน้  ขอ้มูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4  ทกัษะในการนา เสนอรายงานโดยใชรู้ปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยทีี่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาคน้ควา้ดว้ยตนเอง จากเวบ็ไซต์ โดยเน้นการนา ตวัเลข หรือมีสถิติ อ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ   สอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team  
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนา เสนอดว้ยผลงานตน้แบบเครื่องประดบัที่เหมาะสม  
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
5.3.3  สอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team
ทักษะของฝีมือ
มอบหมายงานให้ตามวัตถุประสงค์
สอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team
   ประเมินจากผลงาน และการนา เสนอดว้ยผลงานตน้แบบเครื่องประดบัที่เหมาะสม     ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ประเมินการสอนผ่านระบบออนไลน์ ms-team
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043326 การผลิตต้นแบบเครื่องประดับด้วยแว๊กซ์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยะธรรม - การเข้าชั้นเรียน -ความรับผิดชอบ -การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านทักษะ คุณภาพผลงานจากการปฏิบัติทั้งในชั้นเรียนและนอกสถานที่ ตลอดภาคการศึกษา 60 %
3 ด้านความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 17 15 % 15 %
4 เรียนในระบบออนไลน์ ผลการศึกษา บททดสอบ 1-8 50 เปอร์เชนต์
  
   1.1   มาณพ ถนอมศรี.ศิลปะสำหรับครู.กรุงเทพฯ : หจก เอมี่ เทรดดิ้ง, 2546.
   1.2  วัฒนะ จูฑะวิภาต.การออกแบบเครื่องประดับ.กรุงเทพฯ : ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค จำกัด, 2545.
   1.3  ศศิธร ชุมแสง พอล.จิวเวลรี่ดิไซน์. กรุงเทพฯ :โอ เอส พริ้น ติ้งเฮ้าส์, 2549.
นิตยสารเครื่องประดับ
 3.1 เว็บไซต์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งหนังสือรูปแบบเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ
 3.2 ข้อมูลจากสถานที่จริง เช่น พิพิธภัณฑ์ กลุ่มโอทอป กลุ่มวิสาหกิจ
 3.3สอนผ่านระบบ ms-team  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4   สอนผ่านระบบ ms-team  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  คือการจัดสัมมนาการจัดการเรียนการสอนสอนผ่านระบบ ms-team
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์