การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์

Scientific Thinking and Decision Making

     1.1 เข้าใจกระบวนการคิดและการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
     1.2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล
     1.3 เข้าใจกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์และการประยุกต์ใช้หลักการคิดทาง วิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตในประจำวัน
     1.4 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
1. อธิบายความสำคัญของกระบวนการคิดได้
     2. บอกขั้นตอนและกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้
     3. จัดกลุ่มหมวดที่หมู่จำแนกความแตกต่างแบ่งประเภท เปรียบเทียบ คาดคะเน จัดระบบ ประเมินคุณค่าวิเคราะห์และตัดสิน ข้อมูลข่าวสารและให้เหตุผลได้
     4. แสดงการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์
     5. แก้ปัญหา นำไปใช้ ในชีวิตประจำวันด้วยการประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์
          กระบวนการคิดการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารและการให้เหตุผล กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์การประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
          Thinking and thought processes. The pursuit of scientific knowledge. analyzes of information and reasons. Analyzes of information and reasons. Processes of logical Decision making. Applying the principles of scientific thinking in everyday life.
             อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาตามสภาวะการที่เกิดขึ้นจริง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูล ส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธ์ทาง ปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตาม คุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
          1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
          1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
          1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำ งานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
          1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์
          1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
          1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
          1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับ ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้Wed-board การขายของผ่าน อินเตอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
          1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
          1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
          1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
          1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทา รายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
          1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
          1.3.4 ประเมินผลการน าเสนอรายงานที่มอบหมาย
       มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ภาระหน้าที่ ของ ผู้เกี่ยวข้องในระบบสารสนเทศ ประเภทข้อมูล แหล่งที่มาของสารสนเทศ ประโยชน์ของระบบ อินทราเน็ตเชิงธุรกิจความเกี่ยวข้องของระบบสารสนเทศในชีวิตประจำวัน และธุรกิจ องค์ประกอบ ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการระบบฐานความรู้หลักการและขั้นตอน การพัฒนาระบบสารสนเทศ จรรยาบรรณ จริยธรรมของผู้เกี่ยวข้อง ผลกระทบของการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อบุคคลและสังคม การป้องกันอันตราย หรือภัยจากการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
            บรรยาย อภิปราย การทา งานกลุ่ม การนา เสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนา มาสรุปและนา เสนอ การศึกษาโดยใช้ ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ ทฤษฏี
              2.3.2 ประเมินจากการน าเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
               พัฒนาความสามารถในการคิดให้มีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทา โครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
               3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
               3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการน าเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
              3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
                3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
               3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน
               3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
              4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
              4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการท างานเป็นทีม
              4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
              4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลเช่น การค้นคว้าความก้าวล้า ของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับ รายวิชา
              4.2.3 การน าเสนอรายงาน
.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
              4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
              4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
             5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
             5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูดการฟังการแปลการเขียน โดยการทำรายงาน และนา เสนอในชั้นเรียน
             5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
             5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
             5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์การสร้าง ห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้อง สนทนา Chat Room
             5.1.6 ทักษะในการน าเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
              5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนา ตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
              5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.3, 3.2 การทดสอบย่อย (Quiz) 4 ครั้ง 1-15 10%
2 1.2,1.3,2.1,2.4,3.1,3.2 แบบฝึกหัดประจำบท 1-15 10%
3 1.1,1.2,2.1,2.4,3.1,3.2 การสอบกลางภาค 7 30%
4 1.1,1.2,2.1,2.4,3.1,3.2 การสอบปลายภาค 17 30%
5 1.1,1.2,1.3,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
6 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความ รับผิดชอบ 1-15 5%
7 1.1,1.4,4.1,4.2,4.3 การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-15 3%
8 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบใน การทา งานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิก กลุ่ม 4,5,15 4%
9 4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและและการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษา อื่นๆในรายวิชา 15 3%
1.1 ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์  นิธิปรีชา สมศักดิ์  เทศสวัสดิ์ และ
               เวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ด เวฟ เอ็ดดูเคชั้น   
               จำกัด.
1.2 เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
1.3 เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
1.4 ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร :
              สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
1.5 ฉววีรรณ แก้วไทรฮะ ไชยยาแซ่ยับ ชัยณรงค์ ขันผนึก  เกียรติศักดิ์  รัตนสิงหา วรชัย ยงพิทยาพงศ์
             นพพร พลกรรณ์  สุวมิล มั่นมงคล และวรรณี ธรรมโชติ. (2546). การคิดและการตัดสินใจ .   
             กรุงเทพมหานคร : ส านักงานสภาสถาบันราชภัฎ.
1.6 สุวิทย์ มูลค า. (2548). ครบเครื่องเรื่องการคิด. กรุงเทพฯ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.
1.7 Alan Hausman, Howard Kahane, and Paul Tidman.(2007). Logic and philosophy : a modern
             introduction. 11st ed. Canada : Nelson Education, Ltd.
1.8 David E. Bell, Howard Raiffa, and Amos Tversky. (1995). Decision making. The United States of
            America : The press syndicate of the University of Cambridge.
1.9 A Van Der Weide. (2003). 10th ed. Planning project management. The United States of America :
            Purdue University press.
1.10 S.K.Neogy, R.B.Bapat, A.K.Das, and T.Pathasarsthy. (2008). Mathematic programming and game
           theory fordecision making. The United States of America : World Scientific Publishing Co. Pte.     
           Ltd.
1.11 Ann Baker. (2007). Creative thinking : Problem solving across the curriculum. The United States of
           America : A & C Black
2.1 กานดา พูนลาภทวี. (2539). สถิติเพื่อการวิจัย.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
2.2 ยุทธ ไกยวรรณ์. (2545). พื้นฐานการวิจัย.กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น
2.3 สุทิติ ขัตติยะ และ วิไลลักษณ์ สุวจิตตานนท์. (2554). แบบแผนการวิจัยและสถิติ. กรุงเทพมหานคร :
            บจ.ประยรูวงศ์พริ้นท์ติง.
2.4 ธีระดา ภิญโญ และ อดิศัย โทวิชา. (2552). สถิติสำหรับการวิจัย.กรุงเทพมหานคร : หจก. เฟิร์นข้าหลวง
             พริ้นติ้งแอนด์พบัลิชชิ่ง.
2.5 ยุทธ ไกยวรรณ. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย.กรุงเทพมหานคร :ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
1.WWW. aws.com.sg
2. WWW. mind - map.com
3. WWW.Tanya PH.com
1.1 ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษาจากเวปไซด์ของมหาวิทยาลัย
1.2 ข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากเวปไซด์ของมหาวิทยาลัย
        จากผลการเรียนของนักศึกษา
3.1 ทำการวิจัยในชั้น เรียนในสาเหตุที่เป็นปัญหาจากนั้นนำผลวิจัยที่ศึกษาเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงการสอน
         3.2 เนื้อหาเดียวกัน (หลักสูตรเดียวกัน ) นักศึกษาต่างกลุ่มกัน เช่น กลุ่มบริหารธุรกิจกลุ่มศิลป ศาสตร์กลุ่มวิศวกรรม กลุ่มศิลปกรรม กลุ่มสถาปัตยกรรม กลุ่มเกษตร
                 3.2.1 การแสดงตัวอย่างเพื่อสนับสนุนเนื้อหาจะต้องให้เหมาะสมกับกลุ่มของ นักศึกษา
                 3.2.2 หัวข้องานจะต้องสอดคล้องกับกลุ่มผู้เรียนที่แตกต่างกัน
4.1 จากผลการเรียนของนักศึกษา
          4.2 จากผลการทดสอบ
          4.3 จากงานที่มอบหมาย
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง
            (1) กระบวนการ
            (2) ขั้นตอน
            (3) กลยุทธการสอน ของผู้สอน