การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการใช้สอยในอาคาร

Building Renovation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมาย และประเภทของการปรับปรุงอาคาร เข้าใจการวิเคราะห์ โครงสร้าง งานระบบต่างๆ และข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงอาคาร เข้าใจหลักการปรับปรุงเพื่อ การอนุรักษ์อาคาร การประหยัดพลังงานภายในอาคาร และอารยะสถาปัตยกรรม เข้าใจหลักการและ ขั้นตอน กระบวนการออกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นที่ภายนอก/ภายในอาคาร
เมื่อนำข้อมูลจากการประเมินการสอนโดยนศ มาปรับปรุงเพื่อพัฒนาลำดับเนื้อหาการสอน รายละเอียดเนื้อหาการสอน ให้ครบถ้วนและทันสมัย ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหา และ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบปรับปรุงการใช้สอยภายในอาคาร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานหลักการ ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใช้สอย อาคารเก่า โครงสร้าง ข้อจำกัด ข้อกฎหมาย ขั้นตอนและเทคนิคการซ่อมแซมและปรับปรุงอาคารเดิม เพื่อปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอยโดยคำนึงถึงหลักการอนุรักษ์ การประหยัดพลังงานและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
      พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อการศึกษาเรื่องเกี่ยวสิ่งแวดล้อมที่นำมาใช้ในการออกแบบ สถาปัตยกรรม โดยผู้เรียนจะต้องมีวินัย ซื่อตรงต่อเวลา โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
      2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      4.คำนึงถึงผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน ต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม
       5. ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพสถาปัตยกรรม แต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน
เช็คชื่อนักศึกษาก่อนเริ่มเรียนทุกครั้ง ให้นักศึกษามาเตรียมอุปกรณ์นำเสนอก่อนเวลาทุกครั้งเมื่อมีจะการนำเสนองาน กำหนดวันเวลาส่งงานที่ชัดเจน โดยให้นักศึกษาเซนต์ชื่อส่งงานทุกครั้ง กำหนดให้นักศึกษาระบุที่มาของข้อมูลของ ตัวอย่างกรณีศึกษา(Case Study) และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการออกแบบที่นำมาใช้งานอย่างจริงจัง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 การมาเตรียมอุปกรณ์นำเสนอก่อนเวลาทุกครั้งเมื่อมีจะการนำเสนองานของนักศึกษา
1.3.5 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
2.1.4 มีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฏีศาสตร์ทางศิลปะ และสถาปัตยกรรมล้านนา
2.1.5 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
2.2.1 บรรยาย นำเสนอผลงานตัวอย่าง เป็นกรณีศึกษา
2.2.2 อภิปราย
2.2.3 ทำเป็นการศึกษาเป็นรายกลุ่มโดยการ การวิเคราะห์กรณีศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.3 ประเมินผลงานเสนอแนวทางการปรับปรุงอาคาร โครงการบูรณาการวิชาการ โดยให้บุคคลภายนอกร่วมประเมินผลงาน
3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการ ความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน
3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนได้ หรือเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ที่ประสานประโยชน์ใช้สอย ความงาน เทคโนโลยี บริบทสังคมเข้าด้วยกัน
3.1.3 มีทักษะในการรวบรวมองค์ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหา และพัฒนาต่อยอด
3.1.4 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยนำเสนอด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ข้อสอบประมวลผล ปลายภาค
3.3.3 ประเมินผลงานเสนอแนวทางการปรับปรุงอาคาร โครงการบูรณาการวิชาการ โดยให้บุคคลภายนอกร่วมประเมินผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
4.1.1 มีความรับผิดชอบทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัว ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานการรักษาสิ่งแวดล้อม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
4.2.1 จัดกิจกรรมการศึกษาเรียนรู้ โดนให้นักศึกษาเลือกกลุ่มกันเอง
4.2.2 ให้ข้อมูล ความเข้าใจต่อความสำคัญของผลกระทบผู้ใช้สอย จากผลงานออกแบบของนักศึกษา
4.3.1 ประเมินจากการสังเกต พฤติกรรมความร่วมมือกันทำงานในกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากสัดส่วนของงานภายในกลุ่ม จากรายงานที่นำเสนอ
4.3.3 ประเมินจาก ผลงานออกแบบที่มีการมีจิตสำนึกต่อผู้ใช้งานภายในอาคารที่ทำการออกแบบ
5.1.3 มีทักษะการสื่อสารสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูดเขียน และใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกาษาจัดทำสื่อเพื่อนำเสนอข้อมูลที่ได้ศึกษามา
5.2.2 นำเสนอผลงาน ทั้งต่อหน้าชั้นเรียน และ ต่อบุคคลภายนอก ตัวแทนโครงการบูรณาการ โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบสื่อนำเสนอ ด้วย ชารด์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.3.2 ประเมินจากการบรรยายข้อมูล ความเข้าใจง่าย ชัดเจน และน่าสนใจ
โดยให้บุคคลภายนอกเป็นผู้ประเมินด้วย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.4 คำนึงถึงผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน ต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม 1.1.5 ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพสถาปัตยกรรม แต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.2.3 มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2.2.5 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม 3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการ ความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน 3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนได้ หรือเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ที่ประสานประโยชน์ใช้สอย ความงาน เทคโนโลยี บริบทสังคมเข้าด้วยกัน 3.1.3 มีทักษะในการรวบรวมองค์ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหา และพัฒนาต่อยอด 3.1.4 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1.1 มีความรับผิดชอบทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัว ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.1.3 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานการรักษาสิ่งแวดล้อม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1 42023407 การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการใช้สอยในอาคาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน 2 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม 3 การเสนอที่มาของข้อมูลจากรายงาน และสถานที่จริง ตลอดภาคศึกษา 14,17 10%
2 2.ความรู้ 1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี 2 การอภิปราย รายงานในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 4,9,18 14,17 15,16 20% 15% 10%
3 ทักษะทางปัญญา 1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล 2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 4,9,18 14, 16 10% 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 2 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย 3 ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย 12,13, 15,16 5%
5 ทักษะการการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเลือกใช้เครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม วิธีการจัดทำสื่อและการนำเสนอ 14,16,17 10%
[1]กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, แนวทางการ
ประหยัดพลังงานในบ้านอยู่อาศัย, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
[2]ตรึงใจ บูรณสมภพ, การออกแบบอาคารที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1,กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติงแอนด์พับลิชชิง จำกัด(มหาชน) , 2539.
[3]ธนิต จินดาวณิค, สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2540.
[4]สมสิทธิ์ นิตยะ รศ., การออกแบบอาคารสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
[5]สุนทร บุญญาธิการ, เทคนิคการออกแบบบ้านประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 การให้ข้อเสนอแนะจากเจ้าของโครงการงานบูรณาการ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การสัมมนาการจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญงานปรับปรุงอาคาร ทำให้นศ.ได้รับตัวอย่างประสบการณ์การทำงานจริง
3.2 การเพิ่มการสอบเก็บคะแนนย่อยในสัปดาห์ที่4 ทำให้นศ.ไม่ต้องสอบเนื้อหามากๆในครั้งเดียว
3.3 การบูรณาการงานบริการวิชาการทำให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการจากโครงการจริง สภาพ จริงปัญหาจริง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกวิชา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
โดยจะปรับวิชานี้ให้เป็นวิชาปฎิบัติอย่างชัดเจนในหลักสูตร61 ซึ่งจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา2562
5.2 เรียนเชิญอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือประสบการณ์การทำงานของวิทยากร