ทฤษฎีเครื่องยนต์

Theory of Engines

1.1 เพื่อศึกษาและปฏิบัติงานเครื่องยนต์ชนิดต่างๆ ทั้งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ดีเซล และแก๊สเหลว หน้าที่และชิ้นส่วนที่สำคัญ
1.2 หลักการทำงาน หน่วยการวัด และสมรรถนะของเครื่องยนต์ ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สเหลว ระบบจุดระเบิด ระบบการหล่อลื่น ระบบการระบายความร้อน ระบบสต๊าร์ต
1.3 ความปลอดภัยในการใช้งาน การบำรุงรักษา การปรับตั้ง และสาเหตุข้อขัดข้องและวิธีการแก้ไข
เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ระบบเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบสตาร์ท ระบบหล่อลื่น และระบบหล่อเย็น
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
3) แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
 
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่ดัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
ประเมินจากรายงานการกระทำทุจริตในการสอบ การมีมารยาททางวิชาการ และการตรวจสอบการดัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซื้ง และเป็นระบบ
เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อชองลักษณะรายวิชา โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง
(1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน (2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ
ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกชองผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมบุษยสัมพันธ์ที่ดี
มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูลข่าวสาร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2
1 TEDME905 ทฤษฎีเครื่องยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ระบบเชื้อเพลิง สอบกลางภาค 8 40
2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบจุดระเบิด ระบบสตาร์ท ระบบหล่อลื่น และระบบหล่อเย็น สอบปลายภาค 16 40
3 เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีรุ่นใหม่ของเครื่องยนต์ รายงานตามที่มอบหมาย 16 10
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1. ตรวจสอบรายชื่อทุกสัปดาห์ 2. สังเกตุพฤติกรรม ทุกสัปดาห์ 10
1.1 ทฤษฎีเครื่องยนต์ดีเซล , ประณต กุลประสูตร, 2553, 337 หน้า
1.2 ทฤษฎีเครื่องยนต์เบนซิน, ประณต กุลประสูตร, 2552, 431 หน้า
ไม่มี
3.1 เครื่องยนต์, อัมพร ภักดีชาติ เกษม ประพฤติธรรม บุญทัน สมนึก คำนึง สาขากร
3.2 เสมอขวัญ ตันติกุล, เครื่องยนต์สันดาปภายใน, สำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, กรุงเทพฯ, หน้า 1-288, 2544
3.3 พูลพร แสงบางปลา, ไอเสียจากเครื่องยนต์และการควบคุม, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,หน้า 40-180 , 2537
3.4 ทฤษฎีเครื่องยนต์เบื้องต้น, นพดล คำมณี, 264 หน้า
3.5 Engine: An introduction, John L.Lumley, 1999.
3.6 Engineering Fundamentals of the Internal Combustion Engine, Willard W. Pulkrabek, 1997
 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 ประเมินจากแบบประเมินรายวิชา และแบบประเมินผู้สอน
2.2 ประเมินจากผลการสอบและการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ