การบัญชีชั้นสูง 2

Advanced Accounting 2

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ การลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อยทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบัญชีสำหรับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า การทำงบการเงินรวม และงบกระแสเงินสดรวม
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐาน การเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ การลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อยทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบัญชีสำหรับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า การทำงบการเงินรวม และงบกระแสเงินสดรวม
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในระบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Microsoft teams
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1.มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพในแต่ละบทเรียน
1.  มีการสอดแทรกหัวข้อความซื่อสัตย์สุจริต การมีวินัย การปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม ในชั้นเรียน
2.  แจ้งระเบียบปฎิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ให้นักศึกษา
3.  สอดแทรกหัวข้อคุณธรรม จริยธรรม และความสำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ
4.  อาจารย์ผู้สอนปฎิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่
1.  ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามเวลาที่กำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2.  ประเมินจากการกระทำการทุจริตในการสอบของนักศึกษา
3.  สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฎิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฎิบิตอย่างต่อเนื่อง
1.ใช้วิธีการสอนที่หลายรูปแบบ ตามลักษณะเนื้อหารายวิชา โดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฏี และการปฎิบัติด เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนโดยเน้นกรณีศึกษา
1.  การพูดคุย อภิปราย ถามตอบ ปัญหาทางวิชาการในชั้นเรียน ในสถานการณ์ สภาพธุรกิจจริงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาตามบทเรียน เช่น การรวมธุรกิจ
2.  มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล
1.  มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั้งด้านบัญชี และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.  มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน
1. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค
2.  การประเมินผลจากการสอบข้อเขียนหรือการสอบปฎิบัติ
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1.  ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบโดยใช้แบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา ที่มีความยากจากระดับง่ายไปสู่ระดับยาก ตามลำดับของการเรียน
2.  มีการบรรยาย ยกตัวอย่าง ถาม ตอบในชั้นเรียน
3.  มีการทำแบบฝึกหัดโดยใช้โจทย์ปัญหา จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่ยากขึ้น
4.  สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเปิดโอกาสให้ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาได้จากแหล่งข้อมูลอื่นนอกเหนือจากตำราเรียน
1. ประเมินจากคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.  ประเมินจากงานที่มอบหมาย
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1.  มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียน การเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม
2. ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา
1. ประเมินจากงานที่มอบหมายว่า สามารถทำงานตามที่มอบหมายได้เป็นอย่างดี
2.  ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมการรวมกลุ่มของนักศึกษา
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อการติดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟ้งที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์ หรือคำนวณ
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 2 3 4 1 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC140 การบัญชีชั้นสูง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 ,2.1 ,2.2 การสอบย่อยครั้งที่ 1 ในระบบออนไลน์ ข้อสอบเป็นข้อสอบปรนัย ผ่านระบบ Microsoft forms การสอบกลางภาค ในระบบออนไลน์ ข้อสอบส่วนที่ 1 เป็นข้อสอบปรนัย ผ่านระบบ Microsoft forms ข้อสอบส่วนทีี 2 เป็นข้อสอบอัตนัยจำนวน 10 ข้อ ควบคุมการทุจริตด้วยการกำหนดเวลา การสอบย่อยครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 3 9 13 18 10 25 15 35
2 1.2 ,2.2 ,2.3 ,2.4 ,3.2 ,4.2 การวิเคราห์กรณีศึกษา 16 5
3 1.2 ,2.4 ,3.2 ,4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10
นิยะดา วิเศษบริสุทธิ์. 2561. การบัญชีชั้นสูง 1 เล่ม 1 และเล่ม 2
1.  ดิชพงศ์  พงศ์ภัทรชัย.2561  การบัญชีชั้นสูง. : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
     2.  ดุษฏี สงวนชาติ วรศักดิ์ ทุมมานนท์และพงศ์พรต ฉัตราภรณ์.2559. การบัญชีชั้นสูง 1. พิมพ์ครั้งที่ 8.
         สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชี ได้แก่ประกาศเกี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จาก เว๊ปไซต์ ต่อไปนี้
www.fap.or.th
www.dbd.go.th
www.set.or.th
1) ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
1) พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ (สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค)
2) พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้ (ใบงาน แบบฝึกหัด รายงาน)
3) พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1) นำผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษาและผลประเมินการสอน มาพิจารณาการปรับปรุงการสอน
2) ผู้สอนควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เข้ารับการอบรมสัมมา ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาการสอน
1) การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
          1) นำเอาผลการประเมินข้อ1 และข้อ2 มาวิเคราะห์และหาแนวพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้