วิศวกรรมความปลอดภัยสำหรับวิศวกรรมชีวภาพ

Safety Engineering for Biological Engineering

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของการเกิดอุบัติเหตุและการระวังป้องกัน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการตรวจสอบความปลอดภัย ควบคุมและบริหาร กฎหมายข้อบังคับความปลอดภัย เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจอนามัยและสิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมและเครื่องหมายความปลอดภัย  
จากการเรียนวิชา วิศวกรรมความปลอดภัยสำหรับวิศวกรรมชีวภาพ นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีทางด้านความปลอดภัย สามารถการประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตงานอุตสาหกรรม
ศึกษาด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตทางวิศวกรรมชีวภาพ ที่เกี่ยวกับพิษวิทยาและสุขศาสตร์อุตสาหกรรม แบบจำลองการกระจายการปลดปล่อยพิษ อัคคีภัย การระเบิดและการป้องกัน อุปกรณ์นิรภัย การจำแนกอันตราย การประเมินความเสี่ยงและอันตรายร้ายแรง การจัดการความเสี่ยง การตรวจสอบอุบัติเหตุ กฎหมายข้อบังคับความปลอดภัย จรรยาบรรณ และการประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต
1  ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
          1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
          1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
             1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา  การส่งงาน ภายในเวลาที่กำหนด
1.3.1   การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2   พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.3   การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
มีความรู้ ความเข้าใจทางด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตทางวิศวกรรมชีวภาพ หลักการทางด้านทฤษฎีในเนื้อหา การประเมินความเสี่ยงและอันตรายร้ายแรง การตรวจสอบอุบัติเหตุ กฎหมายข้อบังคับความปลอดภัย จรรยาบรรณ และการประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต
2.2.1 การบรรยาย ถาม- ตอบ เกี่ยวหัวข้อการเรียนรู้  
2.2.2 มอบหมายทำรายงานรายบุคคล และรายกลุ่ม
 2.2.3 นำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1  พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
2.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลงานการค้นคว้าข้อมูล
2.3.3  ทดสอบย่อย
2.3.4  การสอบกลางภาค และปลายภาคเรียน
พัฒนาความสามารถในการนำความรู้มาคิดอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
3.2.1   การมอบหมายงาน
3.3.1  งานที่มอบหมาย
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ตามใบงานที่กำหนดให้
4.3.1   ประเมินพฤติกรรมภาวะ การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.2 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.6   สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 6.1.2 ทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สนับสนุนการทำโครงการ
6.3.1 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.2 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG313 วิศวกรรมความปลอดภัยสำหรับวิศวกรรมชีวภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1.1 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม
1.2 คู่มือการปฏิบัติตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (สสปท)
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4