อุปกรณ์ประกอบอาคาร

Equipment for Building

เพื่อให้นักศึกษา  ศึกษาขอกำหนดทางวิศวกรรม ระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร เพื่อนำไปใช้ประกอบ การออกแบบตกแต่งภายในอาคาร ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
-
ศึกษาข้อกำหนดทางวิศวกรรม และอุปกรณ์ประกอบอาคาร งานระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง การระบายอากาศ ระบบปรับอากาศ ระบบเครื่องกล ระบบเสียง และระบบประกอบอาคารต่างๆ โดยคำนึงถึงการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม

2. มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม เคารพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง วิเคราะห์การใช้วัสดุที่เหมาะสม คำนึงถึง สี ราคา สภาพแวดล้อม
2. บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์  เปรียบเทียบ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคารได้อย่างเหมาะสม
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการสอบวัดประเมินผล
1.  นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในข้อกำหนดทางวิศวกรรม ระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
2.  ศึกษาวิธีการทำงาน ความเหมาะสมในการนำระบบและอุปกรณ์ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ นักศึกษาจัดทำรายงาน  นำเสนอหน้าชั้นเรียน

3. อาจารย์ผู้สอน  นำเสนอส่วนที่นักศึกษาขาดตกบกพร่อง อธิปรายและซักถาม
1.   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.   วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
3.   วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
   พัฒนาความสามารถในการคิด มีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และประยุกต์ การ
         คำนวณในลักษณะงานแบบอื่นๆ
1. บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์วิธีการคำนวณ และเปรียบเทียบ
2. กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.  วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
4.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1.   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2.   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
3.    การนำเสนอผลงาน
บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์วัสดุแต่ลพประเภท

2. นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน
3. กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
1. ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
2.  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
3.  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.  การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
1. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์การถ่ายทอดแนวความคิดผ่านวัสดุ
2. ทักษะในการประยุกต์ ใช้ขนาดที่เหมาะสมกับขนาดห้อง
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือค้นคว้าที่เหมาะสม สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
2.  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
3.  ประเมินผลงาน   การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
4.  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA307 อุปกรณ์ประกอบอาคาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - ความเคารพของนักศึกษาที่มีต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน และต่ออาจารย์ผู้สอน 10%
2 ความรู้ - การสอบกลางภาคเรียน - การสอบปลายภาคเรียน 50%
3 ทักษะทางปัญญา - การเอาใจใส่ต่อการเรียน 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - การเข้าชั้นเรียนตามเวลาที่กำหนด - ความสามารถในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การเลือกใช้ระบบและอุปกรณืประกอบอาคารได้อย่างเหมาะสม 10%
1.1. BUILDING SYSTEMS FOR INTERIOR DESIGNERS. Corky Binggeli  A.S.I.D
    1.2. Architectural GRAPHIC Standards. Ramsey/Sleeper
    1.3. BUILDING CONSTRUCTION ILLUSTRATED. FRANCIS D.K.CHING & CASSANDRA ADAMS
         เรียบเรียงโดย กิติพงศ์ พลจันทร์ และ ทัต สัจจะวาที
-
-
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน