พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม

Environment and Human Behaviors

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ เข้าใจความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับสภาพแวดล้อมรูปแบบต่างๆ เข้าใจผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ เข้าใจความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับสภาพแวดล้อมรูปแบบต่างๆ เข้าใจผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์
ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางพฤติกรรมและจิตวิทยามนุษย์ในสภาพแวดล้อมทางกายภาพโครงสร้างความสัมพันธ์และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ  การวางแผนสภาพแวดล้อมจากพฤติกรรมมนุษย์
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกต่อการนำแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมไปใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม มีวินัย  ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

3.  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพระเบียบต่าง ๆ ในชั้นเรียน
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม

2.  อภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)
3.  กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่าง(Case Study) ที่เกี่ยวข้อง
1.   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
5.   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการศึกษาดูงานนอกสถานที่
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์ การออกแบบโดยวิธีธรรมชาติ  เพื่อควบคุม การพัดผ่านของกระแสลม ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและความชื้นแสงธรรมชาติ  และการควบคุมเสียง  การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน  เพื่อเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย การประหยัดพลังงาน และ เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวม
1.    บรรยาย 
2.    อภิปราย
3.    ทำเป็นรายงานเป็นรายบุคคล โดยการนำเสนอวิธีคิด การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาตัวอย่างและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม เพื่อแสดงออกถึงความเข้าใจในเนื้อหาที่ศึกษา
1.   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
2.   อภิปรายกลุ่ม
3.   วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยนำเสนอด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
4.   การสะท้อนแนวคิดจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1.   สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
2.   สอบกลางภาคและปลายภาค 
3.   วัดผลจากการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1.   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.   มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการนำพลังงานธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม
3.   การนำเสนอรายงาน
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.   ประเมินจากการส่งงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด   
พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1.   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  จากเว็บไซต์สาธารณะที่แนะนำให้ และมีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาได้ถูกต้อง
2.   นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2.   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1..1, 1.1.2 - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-6, 8-15 10%
2 2.1.1, 2.1.2, 2.3.1, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3,, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3, 6.1, 6.2 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - การส่งงานตามที่มอบหมาย 7 16 2,4,6 30% 30% 10%
3 1.1.3, 1.1.4, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1,5.1.2, 5.1.3 - การนำเสนองานกลุ่ม และรายงาน 10, 12, 13, 14 20%
พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม : มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน, วิมลสิทธิ์  หรยางกูร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535
พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม : มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน, วิมลสิทธิ์  หรยางกูร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537
-
-
  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

  3.    ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.   การศึกษาดูงานนอกชั้นเรียน
1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เรียนเชิญอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือประสบการณ์การทำงานของวิทยากร