การวางแผนและควบคุมการผลิต

Production Planning and Control

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้ได้เรียนรู้ถึงบทบาทของการวางแผนและการควบคุมการผลิต การไหลเวียนของข้อมูลในระบบควบคุมการผลิต เทคนิคในการควบคุมการผลิตและของคงคลัง รวมทั้ง การพยากรณ์ความต้องการ การวางแผนการผลิต การวางแผนความต้องการวัสดุ การหาปริมาณของการสั่งซื้อที่ประหยัด การกำหนดงานการผลิต การควบคุมการผลิตเชิงปริมาณ และการบริหารงานโครงการ
เพื่อการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวอย่างอ้างอิง ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ในปัจจุบันและให้เป็นที่สนใจมากขึ้น ความก้าวหน้าของการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้เข้ากับตำราเรียนเล่มใหม่ที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น
 
ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของการวางแผนและการควบคุมการผลิต การไหลเวียนของข้อมูลในระบบควบคุมการผลิต เทคนิคในการควบคุมการผลิตและของคงคลัง รวมทั้งการพยากรณ์ความต้องการ การวางแผนการผลิต การวางแผนความต้องการวัสดุ การหาปริมาณของการสั่งซื้อที่ประหยัด การกำหนดงานการผลิต การควบคุมการผลิตเชิงปริมาณ และการบริหารงานโครงการ
3.1 วัน พุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้อง 731
3.2 E-mail; nitikorn_lee@hotmail.com และ โทรศัพท์มือถือ; 088-267 3243
(1) แสดงออกซี่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการ พัฒนาที่ยั่งยืน
(2) สามารถจัดการและคิดแก้ปีญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพครู
(3) แสดงออกซี่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความ รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
(4) เคารพสิทธิและรับฟ้งความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ ศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม
2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น
3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่าง กว้างขวาง ลึกขึ้ง และเป็นระบบ
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพ เฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วย วิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อ ยอดองค์ความรู้
(3) สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้าม ศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
(2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน
2. อภิปรายกลุ่ม
3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
(2) แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
(3) สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
(4) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ใน ศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) มิทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมิผล ทำให้สามารถเช้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นปญหาได้อย่างรวดเร็ว
(2) สามารถใช้ดุลยพินิจในการลืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมาย และประยุกติใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมิประสิทธิภาพ 
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำ
รายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา
2. การออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา
2. ประเมินจากการออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะ ทาง ปัญญา 4.หักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.หักษะ การวิเคราะห์ เซิงตัวเลขและ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ด้าน ทักษะ การ จัดการ เรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.2 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 TEDIE909 การวางแผนและควบคุมการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 และ 1.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
2 4.1, 4.2, 4.3 และ 4.4 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1 และ 3.2 การสอบกลางภาค 8 20%
4 3.1, 3.2, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1 และ 6.2 การนำเสนอโครงงาน/การรายงาน 14 10%
5 2.1, 2.2, 2.3, 3.1 และ 3.2 การสอบปลายภาค 17 30 %
- พิภพ ลลิตาภรณ์. 2545. ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย- ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ. 533 น.
- Paul Higgin, Patrick Le Roy and Liam Tierney, “Manufacturing Planning and Control”,Chapman and Hall, 1996.
- Daniel Sipper, “Production Planning, Control and Integration”, McGraw-Hill, 1997.
- Stephen A.DeLurgio, “Forecasting Principles And Applications”, McGraw-Hill, 1998
ตำราหรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การวางแผนและควบคุมการผลิต เช่น
    - เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล และธีรวัฒน์ สมสิริกาญจนคุณ. 2540. การวางแผนและควบคุมการผลิต.ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลรังสิต. กรุงเทพฯ. 263 น.
    - สิทธิชัย อุยตระกูล. 2542. การเพิ่มผลผลิต. สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด. กรุงเทพฯ. 263 น.
    - ชุมพล ศฤงคารศิริ. 2543. การวางแผนและการควบคุมการผลิต. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ. 372 น.
    - ณัฐพันธ์ เขจรนันท์. 2546. การจัดการการผลิตและการดำเนินงาน. สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น.กรุงเทพฯ.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3. และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ